ข้ามไปเนื้อหา

มอง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: มอฺง และ ม่อง

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์มอง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmɔɔng
ราชบัณฑิตยสภาmong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɔːŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC mjang|mjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เบิ่ง, ภาษาลาว ເບິ່ງ (เบิ่ง) และ ມອງ (มอง), ภาษาไทลื้อ ᦙᦸᧂ (มอ̂ง), ภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำกริยา

[แก้ไข]

มอง (คำอาการนาม การมอง)

  1. มุ่งดู

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ມອງ (มอง), ภาษาไทดำ ꪣꪮꪉ (มอง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำนาม

[แก้ไข]

มอง

  1. เครื่องจับปลาชนิดหนึ่งจำพวกอวน แต่เล็กสั้น และตาถี่กว่าอวน ใช้ในแม่น้ำลำคลอง

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ မွင်း (ม๊อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥒᥰ (ม๊อ̂ง)

คำนาม

[แก้ไข]

มอง

  1. ฆ้องขนาดเล็ก เรียกว่า ฆ้องมอง

ภาษาเลอเวือะตะวันตก

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

มอง

  1. รอ, คอย

ภาษาเลอเวือะตะวันออก

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

มอง

  1. รอ, คอย