ตี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩦ (ตี), ภาษาลาว ຕີ (ตี), ภาษาไทลื้อ ᦎᦲ (ตี), ภาษาไทใหญ่ တီ (ตี)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtii |
ราชบัณฑิตยสภา | ti | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tiː˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ตี (คำอาการนาม การตี)
- เอามือหรือไม้เป็นต้นฟาดหรือเข่นลงไป
- ตีเด็ก
- ตีดาบ
- ตบเบา ๆ
- ตีพุง
- บุให้เข้ารูป
- ตีขัน
- ตีบาตร
- แผ่ให้แบน
- ตีทอง
- ทำให้เกิดเสียง
- ตีระฆัง
- กด, ประทับ
- ตีพิมพ์
- ตีตรา
- ทำให้เข้ากัน
- ตีเกลียวเชือก
- กำหนด
- ตีราคา
- ทิ้งให้เห็น
- ตีไพ่
- ชักว่าวให้ไปในทิศทางที่ตนต้องการ
- ตีว่าวไปทางซ้าย
- ตีว่าวหนี
- ตีว่าวแยกกัน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]เอามือหรือไม้เป็นต้นฟาดหรือเข่นลงไป
คำนาม
[แก้ไข]ตี
- วิธีนับเวลาในเวลากลางคืน หลังเที่ยงคืน ตั้งแต่ 1 นาฬิกา ถึง 6 นาฬิกา เรียกว่า ตี 1 ถึง ตี 6, แต่ตี 6 นิยมเรียกว่า ย่ำรุ่ง
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tiː˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ตี๋
คำกริยา
[แก้ไข]ตี (คำอาการนาม การตี)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขิน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง