ชู้
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟuːꟲ² (“คนรัก; ผู้ล่วงประเวณี”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩪ᩶ (ชู้), ภาษาเขิน ᨩᩪ᩶ (ชู้), ภาษาลาว ຊູ້ (ซู้), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴᧉ (ชู้), ภาษาไทใหญ่ ၸူႉ (จู๎), ภาษาไทใต้คง ᥓᥧᥳ (จู๎), ภาษาอาหม 𑜋𑜥 (ฉู)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชู้ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chúu |
ราชบัณฑิตยสภา | chu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰuː˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ชู้ (คำลักษณนาม คน)
- ผู้ล่วงประเวณี
- การล่วงประเวณี
- ชายที่ร่วมประเวณีกับเมียผู้อื่น เรียกว่า เป็นชู้, หญิงที่มีสามีแล้วแต่ร่วมประเวณีกับชายอื่น เรียกว่า มีชู้
- (โบราณ, ร้อยกรอง) คู่รัก, คนรัก
ลูกคำ
[แก้ไข]ชู้
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /t͡ɕuː˦˥/
คำนาม
[แก้ไข]ชู้ (คำลักษณนาม ฅน)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨩᩪ᩶ (ชู้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ฅน