ข้ามไปเนื้อหา

เวด บาร์เร็ตต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Wade Barrett)
Wade Barrett
ชื่อเกิดStuart Alexander Bennett
เกิด (1980-08-10) 10 สิงหาคม ค.ศ. 1980 (44 ปี)
Penwortham, Lancashire, England, United Kingdom
ประวัติมวยปล้ำอาชีพ
ชื่อบนสังเวียนBad News Barrett[1]
King Barrett
Lawrence Knight
Stu Bennett
Stu Sanders
Wade Barrett
The Lord
ส่วนสูง6 ฟุต 7 นิ้ว (201 เซนติเมตร)[1]
น้ำหนัก246 ปอนด์ (112 กิโลกรัม)[1]
มาจากManchester, England
Preston, England[1]
ฝึกหัดโดยAl Snow[2][3]
Jon Richie[2][3]
เปิดตัว2004[2]

สจวร์ต อเล็กซานเดอร์ เบนเนตต์ (Stuart Alexander Bennett; 10 สิงหาคม ค.ศ. 1980)[2] เป็นนักมวยปล้ำอาชีพ, ผู้บรรยาย, นักแสดงและอดีตนักมวยนิ้วเปล่าชาวอังกฤษที่รู้จักกันดีในWWEภายใต้ชื่อ เวด บาร์เร็ตต์ (Wade Barrett)

ชีวิตวัยเยาว์

[แก้]

เบนเน็ตต์เกิดใน เพนวอร์แทม, มณฑลแลงคาสเชอร์ เขาอาศัยอยู่ในเพรสตันจนอายุหกเมื่อเขาย้ายไปเวลส์กับครอบครัวของเขา[4][5] เขาได้รับแรงบันดาลใจจากไอดอลของเขาบอยสมิธ ที่จะกลายเป็นนักมวยปล้ำอาชีพและการแข่งขันแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล WWF ในศึก SummerSlam 1992 (ระหว่างเดวี บอย สมิธ และเบรต ฮาร์ตฮีโร่ในวัยเด็ก) เป็นของเขาตลอดเวลาการแข่งขันที่ชื่นชอบ[6][7] เขาได้รับปริญญาในชีววิทยาทางทะเลจากมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล[4] การทำงานในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์[5] และเป็นที่ปรึกษาด้านการรับสมัครในขณะที่การฝึกอบรมที่จะกลายเป็นนักมวยปล้ำ[4] เขายังมีต้นกำเนิดในประเทศสเปนโดยคุณยาย

อาชีพนักมวยนิ้วเปล่า

[แก้]

ขณะที่มีชีวิตในลิเวอร์พูลในวัยยี่สิบต้นๆ ของเขาเบนเน็ตต์กลายเป็นแชมป์มวยเปลือยนิ้วจะไปต่อสู้ในสถานที่ต่างๆทั่วยุโรป[7][8][9][10] เขาจะเข้าแข่งขันในการแข่งขันการขนานนามตามข้อนิ้วมือเปล่า นรกเป็น "การรบที่กรุงบูดาเปสต์" ซึ่งเขาพ่ายแพ้ของฝ่ายตรงข้ามที่มีชื่อเสียงสำหรับรางวัลเงินสดขนาดใหญ่[11] หลังจากนั้นขณะที่เขาเดินผ่านตรอกในการค้นหาของรถแท็กซี่ไปสนามบินเบนเน็ตต์ถูกแทงด้วยแปดนิ้ว ใบมีดโดยคนที่พยายามที่จะขโมยเงินสด เขาได้ปฏิเสธที่จะทำอย่างละเอียดในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางกฎหมาย แต่คนร้ายที่เกิดขึ้นได้รับบาดเจ็บสาหัสและเบนเน็ตต์หนีไปกับเงินสดแม้จะมีการสูญเสียเลือดอย่างมีนัยสำคัญ การโจมตีทิ้งเขามีรอยแผลเป็นขนาด 12 นิ้วที่ทอดยาวจากบนหลังของเขาที่จะลงครึ่งหนึ่งไขว้ขวาของเขา[11] และต่อยที่เขาเอาในอาชีพเปลือยนิ้วของเขาทิ้งเขากับจมูกพิการ,[7] แต่เขาได้แสดงความ เสียใจไม่มีช่วงเวลาของชีวิตของเขา[11] เขาได้ออกจากอาชีพเปลือยนิ้วของเขาเข้า WWE ตามคำขอของ WWE Hall of Fame ดัสตี โรดส์[7] ถูกแนะนำให้รู้จักกับฝูงชน WWE เป็นแชมป์เปลือยนิ้วยุโรปที่ ได้ต่อสู้บนท้องถนนของยุโรป[12] ย้ายสูญเปล่าของเขาเป็นชื่อหลังจากที่เว็บไซต์ของหลายของการต่อสู้ของเขา[9]

ประวัติมวยปล้ำอาชีพ

[แก้]

เบนเน็ตต์ตัดสินใจที่จะเป็นนักมวยปล้ำอาชีพเมื่ออายุ 21[7] และได้รับการฝึกฝนโดยจอนริตชีและอัล สโนว์[2] เขาเปิดตัวในเดือนมิถุนายน 2004 โดยใช้ชื่อ สตู แซนเดอส์[13] เขาได้ขึ้นปล้ำในแบทเทิลรอยัล 30 คนที่จัดขึ้นโดย NWA UK Hammerlock Wrestling[3] เขายังเคยปล้ำสมาคม Dropkixx Wrestling, Real Quality Wrestling และ All Star Wrestling[3][4] เช่นเดียวกับการต่อสู้ในเวลส์ Welsh Wrestling ในเดือนมิถุนายนปี 2005 เขาชนะDanny Beckwith ในการชิงแชมป์ Dropkixx IWC Heavyweight Championship ในปี 2005 เขาเปิดศึกกับ Nick Aldis และ Danny Dexter ใน Dropkixx Wrestling

เดอะเน็กซัสบนเวทีซัมเมอร์สแลม (2010)

เขาได้ร่วมฝึกปล้ำค่ายพัฒนาทักษะของ WWE ฟลอริดาแชมเปียนชิปเรสต์ลิง(FCW) และเป็นแชมป์ฟลอริดาแท็กทีม FCWร่วมกับดรูว์ แม็กอินไทร์ในนามดิ เอ็มไพร์[14] ใน OVW ได้คว้าแชมป์เซาเทิร์นแท็กทีมคู่กับพอล เบอร์ชิลล์ ปี 2010 ได้เป็นผู้ชนะการประกวดแข่งขันNXTซีซั่น1 โดยคริส เจริโคเป็นผู้ฝึกสอน[15][16] ในรอว์ 7 มิถุนายน 2010 เขาได้เปิดตัวเป็นผู้นำกลุ่มเดอะเน็กซัส โดยรุมเล่นงานจอห์น ซีนา, ซีเอ็ม พังก์, โฆษก จัสติน โรเบิตส์ และทำลายโชว์ของรอว์[17] จากนั้นเน็กซัสก็ได้ก่อกวนซีนาในการชิงแชมป์ตลอด ทำให้ซีนาแค้นมากท้าเจอกันในซัมเมอร์สแลม (2010)แบบ 7 ต่อ 7 คัดออก ระหว่างทีมเน็กซัส ปะทะ WWE โดยก่อนหน้านั้นเน็กซัสได้ลอบทำร้ายสมาชิกทีม WWE อย่างเดอะเกรทคาลีจนไม่สามารถปล้ำได้ แต่ซีนาได้นำแดเนียล ไบรอัน อดีตกลุ่มเน็กซัสมาร่วมทีมแทน สุดท้ายบาร์เร็ตต์ถูกซีนาใส่ท่า STF จนตบพื้นยอมแพ้[18] ในไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2010)ได้ชิงแชมป์ WWE เป็นครั้งแรกใน 6 คนคัดออกแต่ก็ไม่ได้แชมป์[19] ในเฮลอินเอเซล (2010)ได้ชนะซีนาจากการช่วยเหลือของไมเคิล แมคกิลลิคัตตีและฮัสกี แฮร์ริสจากNXTซีซั่น2 ทำให้ซีนาต้องเข้ามาร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเน็กซัส[20]

ในแบรกกิ้ง ไรท์ส (2010)ได้ชิงแชมป์ WWE กับแรนดี ออร์ตัน โดยมีซีนายืนอยู่ข้างเวที สุดท้ายบาร์เร็ตต์ชนะฟาล์วเพราะถูกซีนาใส่ Attitude Adjustment แต่ออร์ตันไม่เสียแชมป์[21] ในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2010)ได้รีแมตช์ชิงแชมป์กับออร์ตันและมีซีนาเป็นกรรมการพิเศษ โดยถ้าบาร์เร็ตต์ชนะก็จะได้เป็นแชมป์ และซีนาก็จะได้ออกจากการเป็นสมาชิกเน็กซัสอย่างถาวร แต่ถ้าบาร์เร็ตต์แพ้ ซีนาก็ต้องออกจาก WWE สุดท้ายบาร์เร็ตต์เป็นฝ่ายแพ้ ทำให้ซีนาต้องออกจาก WWE[22] ในรอว์คืนต่อมาได้ขอชิงแชมป์กับออร์ตันอีกครั้ง โดยก่อนปล้ำได้ให้กลุ่มเน็กซัสเล่นงานออร์ตัน ทำให้บาร์เร็ตต์ได้เปรียบมากเพราะออร์ตันเจ็บหัวเข่า แต่ก็ไม่สามารถคว้าแชมป์ได้ เพราะซีนาได้มาก่อกวนการ[23] บาร์เร็ตต์ได้เรียกซีนากลับมาใน WWE และได้ท้าเจอกันในทีแอลซี (2010)ในรูปแบบแมตช์เก้าอี้ สุดท้ายบาร์เร็ตต์เป็นฝ่ายแพ้[24] ต่อมาซีเอ็ม พังก์ได้เป็นหัวหน้ากลุ่มเน็กซัสคนใหม่ ในรอว์ 3 มกราคม 2011 บาร์เร็ตต์ได้ปล้ำ 3 เส้ากับเชมัส และออร์ตัน หาผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์ WWE กับเดอะมิซในรอยัลรัมเบิล (2011) ในแมตช์นี้ออร์ตันเป็นผู้ชนะ เพราะพังก์หัวหน้ากลุ่มเน็กซัสคนใหม่ได้มาก่อกวนการปล้ำและดึงปลอกแขนสมาชิกของบาร์เร็ตต์ออก และได้ถูกออกจากการเป็นสมาชิกเน็กซัส[25]

เดอะคอร์รุมเล่นงานจอห์น ซีนากับเดอะ ร็อก

บาร์เร็ตต์ได้ย้ายไปอยู่ในสแมคดาวน์และได้มาก่อกวนการปล้ำของบิ๊กโชว์ ทำให้บิ๊กโชว์แค้นมากจึงไปขอท้าเจอในสแมคดาวน์ถัดไป ผลสรุปคือไม่มีผลการตัดสินเพราะฮีท สเลเตอร์กับจัสติน เกเบรียลออกมาช่วยรุมเล่นงานบิ๊กโชว์ และยังมีอีซีคีล แจ็กสันออกมาช่วยอีกคน ทำให้บิ๊กโชว์ถึงกับหมดสภาพ[26] บาร์เร็ตต์ได้ก่อตั้งกลุ่มชื่อว่าเดอะคอร์ ประกอบด้วย บาร์เร็ตต์, อีซีคีล, สเลเตอร์ และเกเบรียล[27] ในสแมคดาวน์ 25 มีนาคม บาร์เร็ตต์ได้คว้าแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัลสมัยแรกจากโคฟี คิงส์ตัน[28][29][30] ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 เดอะคอร์ได้แพ้แท็กทีม 8 คนกับ บิ๊กโชว์, เคน, ซานติโน มาเรลลา และโคฟี คิงส์ตัน[31] อีซีคีลได้ออกจากกลุ่มเดอะคอร์[32] ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2011)ต้องป้องกันแชมป์อินเตอร์กับอีซีคีล แต่สเลเตอร์และเกเบรียลออกมาช่วยบาร์เร็ตต์ทำให้แพ้ฟาล์วไม่เสียแชมป์[33] ต่อมากลุ่มเดอะคอร์ได้มีปัญหากันและแตกทีม[34] ในแคปิเทล พูนิชเมนท์ ได้เสียแชมป์ให้อีซีคีล[35] บาร์เร็ตต์ได้ฉายเดี่ยวอย่างเต็มตัว ในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2011)บาร์เร็ตต์นำทีมเอาชนะทีมของแรนดี ออร์ตันได้แบบแท็กทีม 5 ต่อ 5 คัดออก ในทีแอลซี (2011)ได้แพ้ให้ออร์ตันแบบจับฟาดใส่โต๊ะ[36] ในสแมคดาวน์ส่งท้ายปี 2011 ได้เอาชนะออร์ตันแบบจับกดที่ไหนก็ได้[37] บาร์เร็ตต์ได้รับบาดเจ็บศอกซ้ายหลุดจากการปล้ำแบทเทิลรอยัลในรอว์ 20 กุมภาพันธ์ 2012 ทำให้ต้องพักการปล้ำ[38][39]

บาร์เร็ตต์ได้กลับมาในเดือนกันยายน[40][41] รอว์ 31 ธันวาคม ได้คว้าแชมป์อินเตอร์สมัยที่2จากโคฟี คิงส์ตัน[42] ก่อนเริ่มรายการเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 29ได้เสียแชมป์ให้กับมิซ[43] แต่ในรอว์คืนถัดมาก็ชิงคืนได้เป็นสมัยที่3[44] ในเพย์แบ็ค (2013)เสียแชมป์ให้เคอร์ติส แอ็กเซลในแมตช์ 3เส้า โดยเดอะมิซร่วมปล้ำด้วย[45] ในรอว์ 2 ธันวาคม 2013 บาร์เร็ตต์ได้เปลี่ยนบทบาทใหม่ และใช้ชื่อว่า "แบด นิวส์ บาร์เร็ตต์" โดยออกมาแจ้งข่าวดีและข่าวร้ายให้กับแฟนๆ ข่าวดีคือเรามีรายการรอว์ ส่วนข่าวร้ายคือ คนดูมีแต่พวกบ้านนอก ไม่มีสมอง ต้องตั้งชื่อเมืองเป็นชื่อเดียวกับชื่อรัฐเพื่อที่จะได้จำได้ง่ายๆ[46] ในรอว์ 7 เมษายน 2014 บาร์เร็ตต์ได้ขึ้นปล้ำครั้งแรกภายใต้กิมมิคใหม่ เอาชนะเรย์ มิสเตริโอไปได้[47] รอว์ถัดมาได้ชนะดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ เข้ารอบรองชนะเลิศทัวร์นาเมนต์หาผู้ท้าชิงแชมป์อินเตอร์กับบิ๊กอีในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2014) รอว์ถัดมาชนะเชมัสเข้ารอบชิง รอว์ 28 เมษายน ชนะร็อบ แวน แดมได้เป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 กับบิ๊กอีในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ และสามารถคว้าแชมป์อินเตอร์ได้เป็นสมัยที่4 ในสแมคดาวน์ 27 มิถุนายน บาร์เร็ตต์ได้รับบาดเจ็บที่หัวไหล่จากการถูกแจ็ก สแวกเกอร์เหวี่ยงอัดที่กั้นคนดู ทำให้ต้องสละแชมป์อินเตอร์[48][49]

บาร์เร็ตต์ได้กลับมาในเดือนพฤศจิกายน ช่วงก่อนเริ่มรายการเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2014)[50] รอว์ส่งท้ายปี 2014 บาร์เร็ตต์กลับมาขึ้นปล้ำชนะซีซาโรไปได้[51] รอว์สัปดาห์ต่อมา บาร์เร็ตต์ได้คว้าแชมป์อินเตอร์เป็นสมัยที่5จากซิกก์เลอร์[52] ในฟาสต์เลน (2015)ป้องกันแชมป์จากดีน แอมโบรสเอาไว้ได้โดยชนะฟาล์ว[53] ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 31ต้องป้องกันแชมป์แบบไต่บันได 7 คน สุดท้ายแดเนียล ไบรอันคว้าแชมป์ไปได้[54][55] วันที่ 28 เมษายน 2015 บาร์เร็ตต์ได้เป็นผู้ชนะคิงออฟเดอะริงประจำปี 2015 โดยชนะเนวิลล์ในรอบสุดท้าย และได้ฉายาเป็น คิง บาร์เร็ตต์[56][57] ในเดือนกันยายน 2015 บาร์เร็ตต์ได้ไปแสดงภาพยนตร์ของ WWE Studios-Richwater แนวแอ็กชั่น-ระทึกขวัญเรื่อง Eliminators[58] ในช่วงปลายปี 2015 บาร์เร็ตต์ได้เข้าร่วมกลุ่มเดอะลีกออฟเนชันส์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 32ลีกออฟเนชันส์ได้เอาชนะเดอะนิวเดย์[59] คืนต่อมาได้ถูกเตะออกจากกลุ่มลีกออฟเนชันส์[60] ก่อนจะหมดสัญญาออกจาก WWE วันที่ 6 พฤษาภาคม 2016[61] ในปี 2020 บาร์เร็ตต์ได้เซ็นสัญญาแบบฟูลไทม์ในการร่วมเป็นผู้บรรยายให้กับ WWE[62][63]

อาชีพนักแสดง

[แก้]

บาร์เร็ตต์มีบทบาทเล็กๆ ในภาพยนตร์เรื่อง 2013 อาชญากรรมระทึกขวัญ Dead Man Down,[64] ซึ่งเขาจำเป็นต้องใช้สำเนียงนิวยอร์ก[65] ในเดือนเมษายนปี 2015 ได้มีการประกาศว่าเขาจะเป็นดารา "ฆาตกรที่อันตรายที่สุดของยุโรป" ใน WWE Studios-Richwater ภาพยนตร์ภาพยนตร์แอ็คชั่นระทึกขวัญชื่อ Eliminators ร่วมกับสกอตต์ แอดกินส์[66]

ชีวิตส่วนตัว

[แก้]

เบนเน็ตต์มีสามรอยสัก: ลวดหนามบนต้นแขนซ้ายของเขา[67] ซึ่งภายหลังเขาให้ครอบคลุม deltoid ทั้งหมด[68] การออกแบบเผ่าโดยตรงภายใต้รอยสักแรก[67] และดอกกุหลาบบนต้นแขนข้างขวาของเขาด้วยคำพูด "วัฒนธรรมแปลกแยก, เบื่อและความสิ้นหวัง" (สายจาก Manic Street Preachers เพลง "Little Baby Nothing")[69]

เบนเน็ตต์เป็นผู้สนับสนุนของสโมสรฟุตบอลอังกฤษเพรสตันนอร์ทเอนด์ที่[4] และทีมอเมริกันฟุตบอลชิคาโกหมี[5] เขาเล่นกีต้าร์ในเวลาว่างของเขา[5] และสนุกกับการอ่านผลงานของฮันเตอร์เอส ธ อมป์สัน[5] วงดนตรีที่ชื่นชอบของเขารวมถึง Guns N 'Roses, คลั่งไคล้ถนนเทศน์, The Beatles, แยม, Oasis, สมิธ , Stereophonics และ The Stone Roses[5]

เมื่อวันที่ 15 เดือนมิถุนายน 2008 เบนเน็ตต์ถูกจับในแทมปา, ฟลอริด้าและข้อหาแบตเตอรี่เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย (ร้ายกาจ) และขัดขวางเจ้าหน้าที่ (ความผิดทางอาญา)[2][70] การจับกุมที่เกิดขึ้นด้านนอกของร้านอาหาร Champps และ บาร์ที่ 02:00[71] เขาได้รับการปล่อยตัวในวันถัดไป[71] ตามแหล่งที่มา FCW, ค่าธรรมเนียมทั้งหมดที่ถูกทิ้งภายหลังจากตำรวจ เจ้าหน้าที่ที่เบนเน็ตต์บดบังไม่ได้สวมเครื่องแบบและเบนเน็ตต์ แต่หลังจากนั้นเขาได้รู้จักกันคนที่เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับใช้กฎหมายเขาจะไม่ได้ขัดขวางเขา

ในเดือนพฤศจิกายนปี 2014 เบนเน็ตต์ได้รับกรีนการ์ดสหรัฐซึ่งได้รับสิทธิให้เขาอยู่อาศัยถาวรอย่างไม่มีเงื่อนไขในสหรัฐอเมริกาต่อไปอีก 10 ปี[72]

เบนเน็ตต์ได้เดทกับเพื่อนนักมวยปล้ำอลิเซีย ฟอกซ์[73][74] ซึ่งเขายังคงเป็นเพื่อนกับพวกเขาหลังจากที่พวกเขาเลิกกัน[75]

ผลงานอื่นๆ

[แก้]

ภาพยนตร์

[แก้]
Year Title Role
2013 Dead Man Down Kilroy
2016 Eliminators George "Bishop" Edwards
2018 I Am Vengeance John Gold
2020 I Am Vengeance: Retaliation John Gold

โทรทัศน์

[แก้]
Year Title Role Notes
2015 Total Divas Himself Guest star

เว็บ

[แก้]
Year Title Role Notes
2013–2015 The JBL and Cole Show Himself
2015 Swerved Himself 1 episode
2018 Ultimate Beastmaster Himself

แชมป์และรางวัล

[แก้]
เป็นแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล

สิ่งเดิมพันต่างๆ

[แก้]
ผู้ชนะ (เดิมพัน) ผู้แพ้ (เดิมพัน) เมือง ศึก วันที่ หมายเหตุ
Wade Barrett (เน็กซัสแตกกลุ่ม) John Cena (ร่วมเน็กซัส) Dallas, Texas Hell in a Cell 3 ตุลาคม 2010

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Bad News Barrett Bio". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 24 March 2016.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "Wade Barrett profile". Online World of Wrestling. สืบค้นเมื่อ 8 June 2008.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 Wood, Darren. "Wade Barrett". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-03. สืบค้นเมื่อ 19 August 2010.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 McKenzie, Donna (9 October 2010). "WWE's NXT big thing – from Lancashire". Lancashire Telegraph. สืบค้นเมื่อ 18 October 2010.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 "Fast facts from Wade-Barrett.com". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-30. สืบค้นเมื่อ 2015-10-21.
  6. Wade Barrett interview. 103.1 The Buzz. March 2011. "Number one will always be the "British Bulldog" Davey Boy Smith. He was my biggest inspiration...That's [Smith vs. Hart at SummerSlam 1992] actually my favorite match that I've ever seen in my life."
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 Baines, Tim (10 September 2010). "Wade Barrett has come a long way in a short time". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 11 September 2010.[ลิงก์เสีย]
  8. Wade Barrett interview. BBC Radio Merseyside. 7 November 2011. "When I was a little younger I used to fight for money in Liverpool and various places across Europe."
  9. 9.0 9.1 The NXT big thing. Sky Sports. 11 June 2010. Retrieved 28 October 2012.
  10. Fowler, Matt (18 November 2010). "Wade Barrett, The Brutal Brit". IGN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-17. สืบค้นเมื่อ 20 November 2010.
  11. 11.0 11.1 11.2 Wade Barrett Universe blog entry เก็บถาวร 2015-11-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Archived at The Wasteland.
  12. WWE NXT: Wade Barrett profile. WWEFanNation. 5 May 2010. Retrieved 27 October 2012.
  13. "Profile". Gerweck. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-30. สืบค้นเมื่อ 8 June 2008.
  14. 14.0 14.1 "Champions Roll Call". Florida Championship Wrestling. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-07. สืบค้นเมื่อ 1 January 2011.
  15. Martin, Adam (17 February 2010). "Cast information for WWE's NXT". WrestleView. สืบค้นเมื่อ 17 February 2010.
  16. Bishop, Matt (1 June 2010). "WWE NXT: Barrett wins show's first season". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 2 June 2010.
  17. Plummer, Dale (June 8, 2010). "RAW: Vote early, vote often; NXT takes over". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ June 12, 2010.
  18. Plummer, Dale (August 15, 2010). "Rumored return helps Team WWE fend off Nexus at SummerSlam". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-30. สืบค้นเมื่อ August 16, 2010. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  19. Tylwalk, Nick (20 September 2010). "Few gimmicks, more title changes at Night of Champions". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-25. สืบค้นเมื่อ 25 September 2010.
  20. Hillhouse, Dave (4 October 2010). "Hell in a Cell: Betrayal, fan interference, and flying shoes". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-03. สืบค้นเมื่อ 4 October 2010.
  21. Sokol, Bryan (25 October 2010). "Cena central to Bragging Rights; Smackdown wins again". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-18. สืบค้นเมื่อ 25 October 2010.
  22. Plummer, Dale (22 November 2010). "The fate of Cena is finally decided at so-so Survivor Series". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 22 November 2010. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  23. Plummer, Dale (22 November 2010). "RAW: The Miz cashes in as Nexus costs Orton WWE title". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-29. สืบค้นเมื่อ 23 November 2010.
  24. Sokol, Bryan (20 December 2010). "TLC delivers highs, lows and a new champ". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 20 December 2010.
  25. Plummer (3 January 2011). "RAW: Nexus under new management". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 4 January 2011. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |fiest= ถูกละเว้น (help)[ลิงก์เสีย]
  26. Caldwell, James (5 January 2011). "WWE News: Smackdown Spoilers – four big developments at Tuesday's TV taping for Friday's first episode of 2011". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 5 January 2011.
  27. Richmond, Adam (19 January 2011). "WWE News: spoilers – second detailed Smackdown TV taping report – match results, key angles, overall review of TV taping experience". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 20 January 2011.
  28. "History of the Intercontinental Championship: Wade Barrett". WWE. 25 March 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-02. สืบค้นเมื่อ 3 April 2011.
  29. Tucker, Benjamin (22 March 2011). "WWE News: Smackdown spoilers 3/25 – Quick Smackdown results for Friday's show including a significant development". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 23 March 2011.
  30. Hillhouse, Dave (26 March 2011). "Smackdown: Minor bumps in the road". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 26 March 2011.[ลิงก์เสีย]
  31. Bishop, Matt (3 April 2011). "The Rock costs Cena as The Miz retains at WrestleMania XXVII". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 9 April 2011.
  32. Hillhouse, Dave (13 May 2011). "Smackdown: Old standards in Music City". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 23 May 2011.[ลิงก์เสีย]
  33. Hillhouse, Dave (22 May 2011). "Over the Limit: Unpredictability makes for a good show". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-14. สืบค้นเมื่อ 23 May 2011.
  34. Parks, Greg. "PARKS' WWE SMACKDOWN REPORT 6/10: Ongoing "virtual time" coverage of the show, including follow-up to Christian's turn on Orton". PW Torch. สืบค้นเมื่อ 4 July 2011.
  35. "Intercontinental Champion Wade Barrett vs. Ezekiel Jackson". WWE. สืบค้นเมื่อ 10 June 2011.
  36. Powers, Kevin (2011-12-18). "Randy Orton def. Wade Barrett (Tables Match)". WWE. สืบค้นเมื่อ 2011-12-19.
  37. "PARKS' WWE SMACKDOWN REPORT 12/30: Complete coverage of the Friday night show, including Randy Orton vs. Wade Barrett, Falls Count Anywhere".
  38. "WWE Smackdown Spoilers 2/3/12".
  39. Meltzer, Dave. "SAT. UPDATE: Miesha Tate in USA Today, Ric Flair announces NBA, Barrett & WWE Classics update". Wrestling Observer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-23. สืบค้นเมื่อ 4 March 2012.
  40. "RAW STORYLINE TRACKER 8/6 - WWE Title picture, Sheamus steals Del Rio's car, Triple H-Lesnar build-up adds HBK, Jericho-Ziggler, Clay-Sandow". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 22 September 2012.
  41. Parks, Greg. "PARKS' WWE SMACKDOWN REPORT 9/7: Ongoing coverage of Friday night show, including Rey Mysterio & Sin Cara vs. Cody Rhodes & The Miz". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 22 September 2012.
  42. Murphy, Ryan (December 29, 2012). "Wade Barrett wins the Intercontinental Championship". สืบค้นเมื่อ December 30, 2012.
  43. "CALDWELL'S WWE WRESTLEMANIA 29 PPV RESULTS: Complete "virtual-time" coverage of live PPV from MetLife Stadium - Rock-Cena II, Taker-Punk, Lesnar-Hunter, more".
  44. "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 4/8: Complete "virtual-time" coverage of live Raw - WM29 fall-out, new World Champ, no Rock, Taker live, crowd takes over".
  45. "CALDWELL'S WWE PAYBACK PPV RESULTS 6/16 (Hour 1): Axel captures IC Title in opening match, A.J. captures Divas Title, RVD returning to WWE".
  46. http://www.wrestlezone.com/news/431265-latest-update-on-wade-barretts-return-visa-issues-preventing-him-from-working
  47. Caldwell, James. "Caldwell's WWE Raw results 4/7: Ongoing "virtual-time" coverage of live Raw - WM30 fall-out, WWE World Title match, Bryan's first night as champ, Undertaker, Warrior, more". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 8 April 2014.
  48. "WWE NEWS: IC champion reportedly injured at Smackdown TV taping, status for MITB PPV in question". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ June 25, 2014.
  49. "Bad News Barrett stripped of WWE Intercontinental Championship on RAW, Battle Royal to be held at Battleground". Fansided. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-14. สืบค้นเมื่อ June 30, 2014.
  50. Mrosko, Greg. (November 24, 2014). "Video: Bad News Barrett returns to WWE at Survivor Series 2014". Cageside Seats. สืบค้นเมื่อ November 29, 2014.
  51. Tedesco, Mike. "WWE RAW Results - 12/29/14 (Cena brings Authority back)". wrestleview.com. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014.
  52. Caldwell, James (January 5, 2015). "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 1/5: Complete "virtual-time" coverage of live Raw – Ambrose vs. Wyatt ambulance match, The Authority returns, Cena Appreciation Night, more". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ January 5, 2015.
  53. "WWE Fastlane: Questionable match endings and fan reaction may hurt 'Mania". Canoe.ca. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-23. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.
  54. "Smackdown!: It's all about the Intercontinental Title". Canoe.ca. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.[ลิงก์เสีย]
  55. "Bad News Barrett during 2015". The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.
  56. Caldwell, James (April 28, 2015). "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 4/28: Complete "virtual-time" coverage of live Raw - final PPV hype, Bryan returns from injury, Flair, Tag Title match, Tourney Finals, more". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ April 28, 2015.
  57. Caldwell, James (April 29, 2015). "CALDWELL'S WWE KOTR SPECIAL REPORT 4/28: Complete "virtual-time coverage" of King of the Ring finals on WWE Network". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ April 29, 2015.
  58. "WWE Raw results, Aug. 24, 2015: The Dudley Boyz return to WWE and Sting stakes his claim on the WWE World Heavyweight Championship – Stardust turned against King Barrett". WWE. 24 August 2015.
  59. http://www.cagesideseats.com/wwe/2016/4/3/11310358/wrestlemania-32-results-live-streaming-matches-triple-h-vs-roman-reigns-undertaker-shane-mcmahon
  60. http://www.pwmania.com/wwe-raw-results-april-4-2016
  61. "King Barrett, Santino Marella, Hornswoggle, Alex Riley and other Superstars released". WWE. May 6, 2016. สืบค้นเมื่อ May 6, 2016.
  62. "Tommaso Ciampa Is Back With A Vengeance, Wade Barrett Returning Next Week". Fightful.
  63. "A Street Fight and more Wade Barrett coming to NXT 'Super Tuesday'". Cageside Seats.
  64. Mike Johnson (3 May 2012). "Injured WWE Star Gets Film Role". Pwinsider. สืบค้นเมื่อ 3 May 2012.
  65. Talk is Jericho, January 2015
  66. Dave McNary (3 April 2015). "WWE Studios to Partner with Richwater on Two Films". Variety. สืบค้นเมื่อ 10 April 2015.
  67. 67.0 67.1 "Bennett's barbwire tattoo".
  68. "Bennett's barbwire tattoo expanded".
  69. "The 20 coolest tattoos in WWE history". WWE. 25 February 2013. สืบค้นเมื่อ 8 April 2014.
  70. "Individual's Charge Report – Bennett, Stuart Alexander". Hillsborough County Sheriff's Office. 15 June 2008. สืบค้นเมื่อ 18 June 2008.
  71. 71.0 71.1 Gray, Richard (18 June 2008). "WWE Developmental Wrestler Arrested & Charged With Battery, Obstructing A Law Enforcement Officer". WrestlingNewsWorld. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-18. สืบค้นเมื่อ 18 June 2008.
  72. Wade Barrett on Twitter: "Hey @BarackObama, thanks for the Green Card. You're the man!"
  73. [1]. Retrieved 2015-Feb-16.
  74. "Total Divas' Alicia Fox and Rosa Mendes Get Into Screaming Match—See the Tense Sneak Peek!".
  75. "Chasing Glory with Lilian Garcia: Alicia Fox on Apple Podcasts". Apple Podcasts (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 29 October 2020.
  76. "OVW Southern Tag Team Championship history". Ohio Valley Wrestling. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-05. สืบค้นเมื่อ 3 April 2011.
  77. "Achievement Awards: Feud of the Year". Pro Wrestling Illustrated. 10 January 2011. สืบค้นเมื่อ 15 January 2011.
  78. "Achievement Awards: Most Hated". Pro Wrestling Illustrated. 17 January 2011. สืบค้นเมื่อ 22 January 2011.
  79. ""PWI 500": 1–100". Pro Wrestling Illustrated. 9 August 2011. สืบค้นเมื่อ 9 August 2011.
  80. "Wade Barrett's first Intercontinental Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-03. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  81. "Wade Barrett's second Intercontinental Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-06. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  82. "Wade Barrett's third Intercontinental Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-12. สืบค้นเมื่อ 2015-01-06.
  83. "Bad News Barrett's fourth Intercontinental Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-14. สืบค้นเมื่อ 2015-12-18.
  84. "Bad News Barrett's fifth Intercontinental Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 2017-01-17.
  85. "WWE News: Full list of 2010 Slammy Awards – 12 announced on Raw, 10 announced on WWE's website". Pro Wrestling Torch. 13 December 2010. สืบค้นเมื่อ 18 December 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ก่อนหน้า เวด บาร์เร็ตต์ ถัดไป
Sheamus
"King Sheamus"
King of the Ring tournament winner
(2015)
Baron Corbin
"King Corbin"