ข้ามไปเนื้อหา

สาธารณรัฐของประเทศรัสเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Republics of Russia)
สาธารณรัฐ
หมวดหมู่สหพันธรัฐ
ที่ตั้งรัสเซีย
จำนวน22 สาธารณรัฐ
ประชากร206,195 คน (อัลไต) –
4,072,102 คน (บัชคอร์โตสถาน)
พื้นที่3,123 ตร.กม. / 1,206 ตร.ไมล์ (อิงกูเชเตีย) –
3,083,523 ตร.กม. / 1,190,555 ตร.ไมล์ (ยาคูเตีย)
การปกครองรัฐบาลสาธารณรัฐ
หน่วยการปกครองเขต, นครและเมืองสำคัญของสาธารณรัฐ

สาธารณรัฐ (รัสเซีย: республика) เป็นหน่วยองค์ประกอบประเภทหนึ่งในสหพันธรัฐรัสเซีย ตามที่รัฐธรรมนูญของประเทศกำหนดไว้นั้น รัสเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 85 หน่วย โดย 22 หน่วยในจำนวนนี้เป็นสาธารณรัฐ แต่เดิมสาธารณรัฐเป็นเขตการปกครองที่จัดตั้งขึ้นเป็นรัฐชาติเพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ที่ไม่ใช่ชาวรัสเซีย กลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่เป็นที่มาของชื่อสาธารณรัฐเรียกว่า "สัญชาติโดยตำแหน่ง" (titular nationality) อย่างไรก็ตาม จากการย้ายถิ่นของชาวรัสเซียตลอดหลายศตวรรษ สัญชาติโดยตำแหน่งแต่ละสัญชาติไม่จำเป็นต้องเป็นประชากรส่วนใหญ่ของสาธารณรัฐ

รายชื่อ

[แก้]
ธง แผนที่ ชื่อ
ชื่อสามัญและชื่อทางการในประเทศ
เมืองหลวง
สัญชาติโดยตำแหน่ง
ประชากร (ค.ศ. 2010)[2]
เนื้อที่
วันที่จัดตั้ง
ธงสาธารณรัฐคัลมืยคียา
แผนที่แสดงสาธารณรัฐคัลมืยคียาในประเทศรัสเซีย
คัลมืยคียา

สาธารณรัฐคัลมืยคียา
รัสเซีย: Калмыкия — Республика Калмыкия (Kalmykiya — Respublika Kalmykiya)

คัลมึค: Хальмг — Хальмг Таңһч (Haľmg — Haľmg Tañğç)
เอลิสตา

รัสเซีย: Элиста (Elista)

คัลมึค: Элст (Elst)
คัลมึค 289,481 74,731 ตร.กม.
(28,854 ตร.ไมล์)
22 ตุลาคม 1935[3]
ธงสาธารณรัฐคาคัสเซีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐคาคัสเซียในประเทศรัสเซีย
คาคัสเซีย

สาธารณรัฐคาคัสเซีย
รัสเซีย: Хакасия — Республика Хакасия (Khakasiya — Respublika Khakasiya)

คาคัส: Хакасия — Хакас Республиказы (Khakasiya — Khakas Respublikazy)
อะบาคัน

รัสเซีย: Абакан (Abakan)

คาคัส: Абахан (Abakhan)
คาคัส 532,403 61,569 ตร.กม.
(23,772 ตร.ไมล์)
3 กรกฎาคม 1991[4]
ธงสาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรียในประเทศรัสเซีย
คาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย

สาธารณรัฐคาบาร์ดีโน-บัลคาเรีย
รัสเซีย: Кабардино-Балкария — Кабардино-Балкарская Республика (Kabardino-Balkariya — Kabardino-Balkarskaya Respublika)

คาบาร์เดีย: Къэбэрдей-Балъкъэрия — Къэбэрдей-Балъкъэр Республикэ (Qəbərdey-Batlqəriya — Qəbərdey-Batlqər Respublikə)

คาราไช-บัลคาร์: Къабарты-Малкъария — Къабарты-Малкъар Республика (Qabartı-Malqariya — Qabartı-Malqar Respublika)
นัลชิค

รัสเซีย: Нальчик (Nalchik)

คาบาร์เดีย: Налщӏэч (Nalş’əç)

คาราไช-บัลคาร์: Нальчик (Nalchik)
คาบาร์เดีย,
บัลคาร์
859,939 12,470 ตร.กม.
(4,815 ตร.ไมล์)
5 ธันวาคม 1936[5]
ธงสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์
แผนที่แสดงสาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์ในประเทศรัสเซีย
คาราไช-เชียร์เคสเซีย

สาธารณรัฐคาราไช-เชียร์เคสส์
รัสเซีย: Карачаево-Черкесия — Карачаево-Черкесская Республика (Karachayevo-Cherkesiya — Karachayevo-Cherkesskaya Respublika)

คาราไช-บัลคาร์: Къарачай-Черкесия — Къарачай-Черкес Республика (Qaraçay-Çerkesiya — Qaraçay-Çerkes Respublika)

คาบาร์เดีย: Къэрэшей-Шэрджэсия — Къэрэшей-Шэрджэс Республикэ (Qərəṩey-Ṩərcəsiya — Qərəṩey-Ṩərcəs Respublikə)
เชียร์เคสสค์

รัสเซีย: Черкесск (Čerkessk)

คาราไช-บัลคาร์: Черкесск (Çerkessk)

คาบาร์เดีย: Шэрджэс къалэ (Ṩərcəs qalə)
คาราไช,
คาบาร์เดีย
477,859 14,277 ตร.กม.
(5,512 ตร.ไมล์)
3 กรกฎาคม 1991[4]
ธงสาธารณรัฐคาเรเลีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐคาเรเลียในประเทศรัสเซีย
คาเรเลีย

สาธารณรัฐคาเรเลีย
รัสเซีย: Карелия — Республика Карелия (Kareliya — Respublika Kareliya)

คาเรเลีย: Karjala — Karjalan tazavaldu[b]
เปโตรซาวอดสค์

รัสเซีย: Петрозаводск (Petrozavodsk)

คาเรเลีย: Petroskoi
คาเรเลีย 643,548 180,520 ตร.กม.
(69,699 ตร.ไมล์)
27 มิถุนายน 1923
ธงสาธารณรัฐโคมี
แผนที่แสดงสาธารณรัฐโคมีในประเทศรัสเซีย
โคมี

สาธารณรัฐโคมี
รัสเซีย: Коми — Республика Коми (Komi — Respublika Komi)

โคมิ: Коми — Коми Республика (Komi — Komi Respublika)
ซึคตึฟคาร์

รัสเซีย: Сыктывкар (Syktyvkar)

โคมิ: Сыктывкар (Syktyvkar)
โคมี 901,189 416,774 ตร.กม.
(160,917 ตร.ไมล์)
5 ธันวาคม 1936[3]
ธงสาธารณรัฐไครเมีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐไครเมียในประเทศรัสเซีย
ไครเมีย[a]

สาธารณรัฐไครเมีย
รัสเซีย: Крым — Республика Крым (Krym — Respublika Krym)

ยูเครน: Крим — Республіка Крим (Krym — Respublika Krym)

ตาตาร์ไครเมีย: Къырым — Къырым Джумхуриети (Qırım — Qırım Cumhuriyeti)
ซิมเฟโรปอล

รัสเซีย: Симферополь (Simferopol)

ยูเครน: Сiмферополь (Simferopol)

ตาตาร์ไครเมีย: Акъмесджит (Aqmescit)
[c] 1,913,731 26,081 ตร.กม.
(10,070 ตร.ไมล์)
18 มีนาคม 2014[8]
ธงสาธารณรัฐชูวัช
แผนที่แสดงสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย
ชูวาเชีย

สาธารณรัฐชูวัช
รัสเซีย: Чувашия — Чувашская Республика (Chuvashiya — Chuvashskaya Respublika)

ชูวัช: Чӑваш Ен — Чӑваш Республики (Čăvaš Jen — Čăvaš Respubliki)
เชบอคซารี

รัสเซีย: Чебоксары (Cheboksary)

ชูวัช: Шупашкар (Šupaškar)
ชูวัช 1,251,619 18,343 ตร.กม.
(7,082 ตร.ไมล์)
21 เมษายน 1925[9]
ธงสาธารณรัฐเชเชน
แผนที่แสดงสาธารณรัฐเชเชนในประเทศรัสเซีย
เชชเนีย

สาธารณรัฐเชเชน
รัสเซีย: Чечня — Чеченская Республика (Chechnya — Chechenskaya Respublika)

เชเชน: Нохчийчоь — Нохчийн Республика (Noxçiyçö — Noxçiyn Respublika)
กรอซนืย

รัสเซีย: Грозный (Grozny)

เชเชน: Соьлжа-ГӀала (Sölƶa-Ġala)
เชเชน 1,268,989 16,165 ตร.กม.
(6,241 ตร.ไมล์)
10 มกราคม 1993[d]
ธงสาธารณรัฐดาเกสถาน
แผนที่แสดงสาธารณรัฐดาเกสถานในประเทศรัสเซีย
ดาเกสถาน

สาธารณรัฐดาเกสถาน
รัสเซีย: Дагестан — Республика Дагестан (Dagestan — Respublika Dagestan) มาฮัชคาลา

รัสเซีย: Махачкала (Makhachkala)
สัญชาติพื้นเมืองเก้าสัญชาติ 2,910,249 50,270 ตร.กม.
(19,409 ตร.ไมล์)
20 มกราคม 1921[3]
ธงสาธารณรัฐตาตาร์สถาน
แผนที่แสดงสาธารณรัฐตาตาร์สถานในประเทศรัสเซีย
ตาตาร์สถาน

สาธารณรัฐตาตาร์สถาน
รัสเซีย: Татарстан — Республика Татарстан (Tatarstan — Respublika Tatarstan)

ตาตาร์: Татарстан — Татарстан Республикасы (Tatarstan — Tatarstan Respublikası)
คาซาน

รัสเซีย: Казань (Kazan)

ตาตาร์: Казан (Kazan)
ตาตาร์ 3,786,488 67,847 ตร.กม.
(26,196 ตร.ไมล์)
25 มิถุนายน 1920[10]
ธงสาธารณรัฐตูวา
แผนที่แสดงสาธารณรัฐตูวาในประเทศรัสเซีย
ตูวา

สาธารณรัฐตูวา
รัสเซีย: Тува — Республика Тыва (Tuva — Respublika Tyva)

ตูวา: Тыва — Тыва Республика (Tyva — Tuva Respublika)
คืยซิล

รัสเซีย: Кызыл (Kyzyl)

ตูวา: Кызыл (Kızıl)
ตูวา 307,930 168,604 ตร.กม.
(65,098 ตร.ไมล์)
10 ตุลาคม 1961[11]
ธงสาธารณรัฐนอร์ทออสซีเชีย–อะลาเนีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐนอร์ทออสซีเชีย–อะลาเนียในประเทศรัสเซีย
นอร์ทออสซีเชีย

สาธารณรัฐนอร์ทออสซีเชีย–อะลาเนีย
รัสเซีย: Северная Осетия — Республика Северная Осетия–Алания (Severnaya Osetiya — Respublika Severnaya Osetiya–Alaniya)

ออสซีเชีย: Цӕгат Ирыстон — Республикӕ Цӕгат Ирыстон–Алани (Cægat Iryston — Respublikæ Cægat Iryston–Alani)
วลาดีคัฟคาซ

รัสเซีย: Владикавказ (Vladikavkaz)

ออสซีเชีย: Дзæуджыхъæу (Dzæudžyqæu)
ออสซีเชีย 712,980 7,987 ตร.กม.
(3,084 ตร.ไมล์)
5 ธันวาคม 1936[5]
ธงสาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน
แผนที่แสดงสาธารณรัฐบัชคอร์โตสถานในประเทศรัสเซีย
บัชคอร์โตสถาน

สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน
รัสเซีย: Башкортостан — Республика Башкортостан (Bashkortostan — Respublika Bashkortostan)

บัชกอร์ต: Башҡортостан — Башҡортостан Республикаһы (Başqortostan — Başqortostan Respublikahı)
อูฟา

รัสเซีย: Уфа (Ufa)

บัชกอร์ต: Өфө (Öfö)
แบชเคียร์ 4,072,292 142,947 ตร.กม.
(55,192 ตร.ไมล์)
23 มีนาคม 1919[10]
ธงสาธารณรัฐบูเรียตียา
แผนที่แสดงสาธารณรัฐบูเรียตียาในประเทศรัสเซีย
บูเรียตียา

สาธารณรัฐบูเรียตียา
รัสเซีย: Бурятия — Республика Бурятия (Buryatiya — Respublika Buryatiya)

บูร์ยัต: Буряадия — Буряад Улас (Buryaadiya — Buryaad Ulas)
อูลาน-อูเด

รัสเซีย: Улан-Удэ (Ulan-Ude)

บูร์ยัต: Улаан Үдэ (Ulaan Üde)
บูเรียต 972,021 351,334 ตร.กม.
(135,651 ตร.ไมล์)
30 พฤษภาคม 1923[12]
ธงสาธารณรัฐมอร์โดเวีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐมอร์โดเวียในประเทศรัสเซีย
มอร์โดเวีย

สาธารณรัฐมอร์โดเวีย
รัสเซีย: Мордовия — Республика Мордовия (Mordoviya — Respublika Mordoviya)

มอคชา: Мордовия — Мордовия Pеспубликась (Mordovija — Mordovija Respublikas)

เอร์เซีย: Мордовия — Мордовия Республикась (Mordovija — Mordovija Respublikas)
ซารันสค์

รัสเซีย: Саранск (Saransk)

มอคชา: Саранош (Saranosh)

เอร์เซีย: Саран ош (Saran osh)
มอร์ดวิน 834,755 26,128 ตร.กม.
(10,088 ตร.ไมล์)
20 ธันวาคม 1934[13]
ธงสาธารณรัฐมารีเอล
แผนที่แสดงสาธารณรัฐมารีเอลในประเทศรัสเซีย
มารีเอล

สาธารณรัฐมารีเอล
รัสเซีย: Марий Эл — Республика Марий Эл (Mariy El — Respublika Mariy El)

มารีภูเขา: Мары Эл — Мары Эл Республик (Mary El — Mary El Republik)

มารีทุ่งหญ้า: Марий Эл — Марий Эл Республик (Mariy El — Mariy El Republik)
ยอชคาร์-โอลา

รัสเซีย: Йошкар-Ола (Yoshkar-Ola)

มารีภูเขา: Йошкар-Ола (Yoshkar-Ola)

มารีทุ่งหญ้า: Йошкар-Ола (Yoshkar-Ola)
มารี 696,459 23,375 ตร.กม.
(9,025 ตร.ไมล์)
5 ธันวาคม 1936[3]
ธงสาธารณรัฐซาคา (ยาคูเตีย)
แผนที่แสดงสาธารณรัฐซาคา (ยาคูเตีย) ในประเทศรัสเซีย
ยาคูเตีย

สาธารณรัฐซาคา (ยาคูเตีย)
รัสเซีย: Якутия — Республика Саха (Якутия) (Yakutiya — Respublika Sakha (Yakutiya))

ซาฮา: Caxa Сирэ — Саха Өрөспүүбүлүкэтэ (Saqa Sire — Saqa Öröspüübülükete)
ยาคุตสค์

รัสเซีย: Якутск (Yakutsk)

ซาฮา: Дьокуускай (Cokuuskay)
ยาคุต 958,528 3,083,523 ตร.กม.
(1,190,555 ตร.ไมล์)
27 เมษายน 1922
ธงสาธารณรัฐอะดีเกยา
แผนที่แสดงสาธารณรัฐอะดีเกยาในประเทศรัสเซีย
อะดีเกยา

สาธารณรัฐอะดีเกยา
รัสเซีย: Адыгея — Республика Адыгея (Adygeya — Respublika Adygeya)

อะดีเกยา: Адыгэ — Адыгэ Республик (Adıgə — Adıgə Respublik)
ไมคอป

รัสเซีย: Майкоп (Maykop)

อะดีเกยา: Мыекъуапэ (Mıequapə)
อะดีเกยา 439,996 7,792 ตร.กม.
(3,009 ตร.ไมล์)
3 กรกฎาคม 1991[4]
ธงสาธารณรัฐอัลไต
แผนที่แสดงสาธารณรัฐอัลไตในประเทศรัสเซีย
อัลไต

สาธารณรัฐอัลไต
รัสเซีย: Алтай — Республика Алтай (Altay — Respublika Altay)

อัลไต: Алтай — Алтай Республика (Altay — Altay Respublika)

คาซัค: Алтай – Алтай Республикасы (Altai — Altai Respublikasy)

กอร์โน-อัลไตสค์

รัสเซีย: Горно-Алтайск (Gorno-Altaysk)

อัลไต: Туулу Алтай (Tuulu Altay)

คาซัค: Горно-Алтайск (Gorno-Altaisk)
อัลไต 206,168 92,903 ตร.กม.
(35,870 ตร.ไมล์)
3 กรกฎาคม 1991[4]
ธงสาธารณรัฐอิงกูเชเตีย
แผนที่แสดงสาธารณรัฐอิงกูเชเตียในประเทศรัสเซีย
อิงกูเชเตีย

สาธารณรัฐอิงกูเชเตีย
รัสเซีย: Ингушетия — Республика Ингушетия (Ingushetiya — Respublika Ingushetiya)

อิงกุช: ГӀалгIайче — ГIалгIай Мохк (Ghalghajche — Ghalghaj Moxk)
มากัส

รัสเซีย: Магас (Magas)

อิงกุช: Магас (Magas)
อิงกุช 412,529 3,123 ตร.กม.
(1,206 ตร.ไมล์)
4 มิถุนายน 1992[14]
ธงสาธารณรัฐอุดมูร์ต
แผนที่แสดงสาธารณรัฐอุดมูร์ตในประเทศรัสเซีย
อุดมูร์เตีย

สาธารณรัฐอุดมูร์ต
รัสเซีย: Удмуртия — Удмуртская Республика (Udmurtiya — Udmurtskaya Respublika)

อุดมูร์ต: Удмуртия — Удмурт Элькун (Udmurtiya — Udmurt Elkun)
อีเจฟสค์

รัสเซีย: Ижевск (Izhevsk)

อุดมูร์ต: Ижкар (Ižkar)
อุดมูร์ต 1,521,420 42,061 ตร.กม.
(16,240 ตร.ไมล์)
28 ธันวาคม 1934

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ถูกผนวกเข้ากับรัสเซียใน ค.ศ. 2014; ประชาคมระหว่างประเทศส่วนใหญ่รับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน[1]
  2. ภาษาคาเรเลียไม่มีสถานะทางการในสาธารณรัฐ แต่ยังคงได้รับการยอมรับว่าเป็น "ภาษาประจำภูมิภาค" ร่วมกับภาษาฟินแลนด์และภาษาเวปส์[6]
  3. สาธารณรัฐนี้ไม่ได้ก่อตั้งขึ้นโดยพิจารณาสัญชาติของประชากร[7]
  4. เป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัยระหว่าง ค.ศ. 1991–2000 แต่ระหว่างนั้นยังคงได้รับการรับรองว่าเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของรัสเซีย

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2018. Europa Territories of the World series. London: Routledge. 2018. p. 180. ISBN 9781351103916. OCLC 1027753558. Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognized as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
  2. "2010 All-Russian Population Census" (PDF). All-Russian Population Census (ภาษารัสเซีย). 2011-12-22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2019-05-12.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Paxton, John (1988). The Statesman's Year-Book Historical Companion. London, United Kingdom: Palgrave Macmillan. p. 271. ISBN 978-1-349-19448-3.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Smith, Gordon (1999). State-Building in Russia: The Yeltsin Legacy and the Challenge of the Future. Armonk, United States: M.E. Sharpe. p. 62. ISBN 0-7656-0276-8.
  5. 5.0 5.1 Zurcher, Christoph (2007). The Post-Soviet Wars: Rebellion, Ethnic Conflict, and Nationhood in the Caucasus. New York, United States: New York University Press. pp. 28–29. ISBN 978-0-8147-9724-2.
  6. Jung, Hakyung (2012). "Language in a Borderland: On the Official Status of Karelian Language". Slavic Studies: 1 and 13 – โดยทาง Academia.
  7. Goble, Paul (2015-11-03). "Why are Only Some Non-Russian Republics Led by Members of Their Titular Nationalities?". The Interpreter. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-31. สืบค้นเมื่อ 2019-05-13.
  8. Gutterman, Steve; Polityuk, Pavel (2014-03-18). "Putin signs Crimea treaty as Ukraine serviceman dies in attack". Reuters (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-05-08.
  9. "Decree of the All-Russian Central Executive Committee on 04/21/1925 "On the transformation of the Chuvash Autonomous Region into the Chuvash Autonomous Socialist Soviet Republic"". Legal Russia (ภาษารัสเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-16. สืบค้นเมื่อ 2019-05-26.
  10. 10.0 10.1 Grenoble, Lenore (2003). Language Policy in the Soviet Union. Hanover, United States: Springer Science & Business Media. p. 69. ISBN 0-306-48083-2.
  11. Toomas, Alatalu (1992). "Tuva: A State Reawakens". Soviet Studies. Taylor & Francis, Ltd. 44 (5): 881–895. doi:10.1080/09668139208412051. ISSN 0038-5859. JSTOR 152275.
  12. Rupen, Robert (1964). Uralic and Altaic Series. Vol. 37. Indianapolis, United States: Indiana University. p. 468.
  13. Ilič, Melanie (2006). Stalin's Terror Revisited. New York, United States: Palgrave Macmillan. p. 164. ISBN 978-0-230-59733-4.
  14. Pakhomenko, Varvara (2009-08-16). "Ingushetia Abandoned". Open Democracy. สืบค้นเมื่อ 2019-04-30.