หานตาน
นครหานตาน 邯郸市 | |
---|---|
เริ่มจากบน ตามเข็มนาฬิกา: ทิวทัศน์นครหานตาน, เมืองโบราณกว๋างฝู่, จุดชมวิวชีปู้โกว, ภาพมุมกว้างของย่านใจกลางเมือง, อุทยานฉงไถ, รูปปั้นหูฝูฉีเช่อ | |
สมญา: เมืองแห่งความฝัน (梦城) | |
ที่ตั้งของนครหานตานภายในมณฑลเหอเป่ย์ | |
พิกัด (อุทยานอนุสรณ์การปฏิวัติ ชานซี-เหอเป่ย์-ชานตง-เหอหนาน / 晋冀鲁豫革命纪念园): 36°36′04″N 114°29′13″E / 36.601°N 114.487°E | |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
มณฑล | เหอเป่ย์ |
ตั้งถิ่นฐาน | 6500 ก่อน ค.ศ. |
ก่อตั้ง | 15 พฤศจิกายน 1983 |
พื้นที่ | |
• นครระดับจังหวัด | 12,068 ตร.กม. (4,659 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง[1] | 556.00 ตร.กม. (214.67 ตร.ไมล์) |
• 5 เขต[1] | 2,649.1 ตร.กม. (1,022.8 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2020[2]) | |
• นครระดับจังหวัด | 9,433,000 คน |
• ความหนาแน่น | 780 คน/ตร.กม. (2,000 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง[1] | 2,845,790 คน |
• 5 เขต[1] | 4,012,000 |
เขตเวลา | UTC 8 (มาตรฐานจีน) |
รหัส ISO 3166 | CN-HE-04 |
ทะเบียนยานพาหนะ | 冀D |
เว็บไซต์ | hd |
หานตาน | |||||||||||||||||||||||||||
"หานตาน" เมื่อเขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง) | |||||||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 邯鄲 | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 邯郸 | ||||||||||||||||||||||||||
ไปรษณีย์ | Hantan | ||||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "เมืองปลายภูเขาหาน" | ||||||||||||||||||||||||||
|
หานตาน (จีน: 邯郸市) เป็นนครระดับจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลเหอเป่ย์ ประเทศจีน เป็นนครระดับจังหวัดที่อยู่ทางใต้สุดของมณฑล มีอาณาเขตติดต่อ คือ ทิศเหนือติดกับนครสิงไถ ทิศตะวันตกติดกับมณฑลชานซี ทิศใต้ติดกับมณฑลเหอหนาน และทิศตะวันออกติดกับมณฑลชานตง จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2010 มีประชากรทั้งหมด 9,174,683 คน อาศัยอยู่ในเขตตัวเมือง 2,845,790 คน ซึ่งประกอบไปด้วย 5 เขต ความเป็นเมืองของเขตหย่งเหนียนภายในเขตนครหานตาน กับนครชาเหอภายในเขตนครสิงไถ ทั้งสองแห่งนี้จัดว่าเป็นเขตเมืองขยาย (conurbation) เดียวกัน
หานตานเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศจีน พบว่ามีการตั้งถิ่นฐานครั้งแรกเมื่อ 6500 ปีก่อนคริสตกาลโดยกลุ่มวัฒนธรรมฉือชาน ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนาน เมืองแห่งนี้มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อวัฒนธรรมจีน อันได้แก่ เคยเป็นราชธานีหรือเมืองหลวงของรัฐจ้าวในยุครณรัฐ เคยเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมทางตอนเหนือของจีน และเป็นแหล่งกำเนิดของไท่เก๊กและเข็มทิศอันแรกของโลก ซึ่งทำจากหินที่เก็บมาจากเขาฉือ (ภูเขาแม่เหล็ก) หานตานจัดเป็นหนึ่งในเมืองทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงแห่งชาติของจีน[3][4][5][6]
เขตการปกครอง
[แก้]จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2010 มีประชากรในเขตที่เป็นตัวเมือง 3 เขต 941,427 คน ประชากรในพื้นที่เขตเมือง (urban area) 2,845,790 คน และประชากรทั้งพื้นที่ของนครระดับจังหวัด 9,174,683 คน ซึ่งมีพื้นที่ 12,068 12,068 ตารางกิโลเมตร (4,659 ตารางไมล์)
ฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการของเทศบาลนคร ตั้งอยู่ในเขตฉงไถ (丛台区, Cóngtái Qū) รวมถึงสำนักงานพรรคคอมมิวนิสต์จีน และสำนักงานความมั่นคงสาธารณะ
แผนที่ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ | อักษรจีน | พินอิน | ประชากร (ประมาณการปี 2004) |
พื้นที่ (ตร.กม.) |
ความหนาแน่น (คน/ตร.กม.) | |
เขตฉงไถ | 丛台区 | Cóngtái Qū | 330,000 | 28[ต้องการอ้างอิง] | 11,786 | |
เขตหานชาน | 邯山区 | Hánshān Qū | 310,000 | 32[ต้องการอ้างอิง] | 9,688 | |
เขตฟู่ซิง | 复兴区 | Fùxīng Qū | 250,000 | 37[ต้องการอ้างอิง] | 6,757 | |
เขตทำเหมืองเฟิงเฟิง | 峰峰矿区 | Fēngfēng Kuàngqū | 500,000 | 353 | 1,416 | |
เขตเฝย์เซียง | 肥乡区 | Féixiāng Qū | 310,000 | 496 | 625 | |
เขตหย่งเหนียน | 永年区 | Yǒngnián Qū | 860,000 | 898 | 958 | |
นครอู่อัน | 武安市 | Wǔ'ān Shì | 720,000 | 1,806 | 399 | |
邯郸县 | Hándān Xiàn | 400,000 | 522 | 766 | ||
อำเภอหลินจาง | 临漳县 | Línzhāng Xiàn | 590,000 | 744 | 793 | |
อำเภอเฉิงอัน | 成安县 | Chéng'ān Xiàn | 370,000 | 485 | 763 | |
อำเภอต้าหมิง | 大名县 | Dàmíng Xiàn | 750,000 | 1,052 | 713 | |
อำเภอเช่อ | 涉县 | Shè Xiàn | 390,000 | 1,509 | 258 | |
อำเภอฉือ | 磁县 | Cí Xiàn | 640,000 | 1,035 | 618 | |
อำเภอชิว | 邱县 | Qiū Xiàn | 200,000 | 448 | 446 | |
อำเภอจีเจ๋อ | 鸡泽县 | Jīzé Xiàn | 250,000 | 337 | 742 | |
อำเภอกว่างผิง | 广平县 | Guǎngpíng Xiàn | 250,000 | 320 | 781 | |
อำเภอกว่านเถา | 馆陶县 | Guǎntáo Xiàn | 290,000 | 456 | 636 | |
อำเภอเว่ย์ | 魏县 | Wèi Xiàn | 810,000 | 862 | 940 | |
อำเภอฉวี่โจว | 曲周县 | Qǔzhōu Xiàn | 410,000 | 667 | 615 |
ภูมิอากาศ
[แก้]หานตานมีภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป/กึ่งแห้งแล้ง (Köppen Dwa/BSk) ที่ได้รับอิทธิพลจากมรสุม อุณหภูมิเฉลี่ยรายวันและรายเดือนปกติอยู่ระหว่าง −0.9 องศาเซลเซียส (30.4 องศาฟาเรนไฮต์) ในเดือนมกราคม ถึง 27.3 องศาเซลเซียส (81.1 องศาฟาเรนไฮต์) ในเดือนกรกฎาคม ขณะที่อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีคือ 14.3 องศาเซลเซียส (57.7 องศาฟาเรนไฮต์) ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปีปกติอยู่ที่ 502 มิลลิเมตร (19.8 นิ้ว) ซึ่งจะมีปริมาณมากสุดในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม
ข้อมูลภูมิอากาศของหานตาน (1981-2010) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 19.7 (67.5) |
25.3 (77.5) |
31.7 (89.1) |
37.9 (100.2) |
40.0 (104) |
43.6 (110.5) |
42.0 (107.6) |
37.2 (99) |
40.1 (104.2) |
33.5 (92.3) |
28.6 (83.5) |
28.4 (83.1) |
43.6 (110.5) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 4.1 (39.4) |
8.2 (46.8) |
14.3 (57.7) |
22.0 (71.6) |
27.3 (81.1) |
32.1 (89.8) |
32.1 (89.8) |
30.6 (87.1) |
27.0 (80.6) |
21.4 (70.5) |
12.8 (55) |
6.0 (42.8) |
19.83 (67.69) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | −0.9 (30.4) |
2.7 (36.9) |
8.5 (47.3) |
15.8 (60.4) |
21.4 (70.5) |
26.2 (79.2) |
27.3 (81.1) |
26.0 (78.8) |
21.5 (70.7) |
15.3 (59.5) |
7.0 (44.6) |
1.0 (33.8) |
14.32 (57.77) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | −4.8 (23.4) |
−1.7 (28.9) |
3.5 (38.3) |
10.3 (50.5) |
15.7 (60.3) |
20.7 (69.3) |
23.2 (73.8) |
22.1 (71.8) |
17.0 (62.6) |
10.5 (50.9) |
2.6 (36.7) |
−2.8 (27) |
9.69 (49.45) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | -15.0 (5) |
−14.4 (6.1) |
−6.1 (21) |
0.0 (32) |
7.7 (45.9) |
11.5 (52.7) |
16.5 (61.7) |
13.7 (56.7) |
5.4 (41.7) |
-1.0 (30.2) |
−11.4 (11.5) |
−12.7 (9.1) |
−15 (5) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 3.1 (0.122) |
6.3 (0.248) |
13.4 (0.528) |
19.2 (0.756) |
44.2 (1.74) |
49.1 (1.933) |
133.8 (5.268) |
138.1 (5.437) |
50.0 (1.969) |
29.7 (1.169) |
11.8 (0.465) |
3.1 (0.122) |
501.8 (19.756) |
ความชื้นร้อยละ | 57 | 54 | 53 | 54 | 59 | 58 | 74 | 76 | 71 | 65 | 64 | 61 | 62.2 |
แหล่งที่มา: China Meteorological Administration[7] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 46. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-18. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
- ↑ 河北11市最新人口排名出炉 唐山排第四 - 政策 -唐山乐居网. ts.leju.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-22. สืบค้นเมื่อ 22 July 2018.
- ↑ "Handan, China". City of Dubuque. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
- ↑ "磁山——指南针的故乡". Handan Cultural Net. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
- ↑ "永年:太极之乡文化"醉人"". Wenming.cn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-22. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
- ↑ "河北最内敛的城市, 河北南大门, 2016年GDP列河北第五". 温柔小胖虎. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
- ↑ 中国气象数据网 - WeatherBk Data (ภาษาChinese (China)). China Meteorological Administration. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- City of Handan, Official site เก็บถาวร 2012-08-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน