ข้ามไปเนื้อหา

โอเปก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
องค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก

(โอเปก)
ธงชาติ(โอเปก)
ธงชาติ
ตราสัญลักษณ์ของ(โอเปก)
ตราสัญลักษณ์
ที่ตั้งของ(โอเปก)
สำนักงานใหญ่เวียนนา ออสเตรีย
ภาษาราชการอังกฤษ
ประเภทข้อตกลงระหว่างประเทศ (International cartel)[1]
สมาชิก
ผู้นำ
• เลขาธิการ
Haitham Al-Ghais (1 สิงหาคม 2022)
สถาปนาแบกแดด, อิรัก
• นิตินัย
กันยายน 1960
• พฤตินัย
มกราคม 1961
สกุลเงินดัชนีของดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (US$/bbl)
เว็บไซต์
www.opec.org

องค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก (อังกฤษ: Organization of Petroleum Exporting Countries) หรือ โอเปก (อังกฤษ: OPEC; /ˈpɛk/ oh-pek) กำเนิดใน พ.ศ. 2503 มีสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วยประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก อิหร่าน คูเวต และเวเนซุเอลา เดิมมีสำนักงานใหญ่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบัน โอเปกมีสมาชิกเพิ่มอีก 8 ประเทศ คือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไนจีเรีย แอลจีเรีย ลิเบีย กาบอง (ต่อมาถอนตัวในปี ค.ศ. 2008 แล้วกลับมาในปี ค.ศ. 2016) อิเควทอเรียลกินี และล่าสุดสาธารณรัฐคองโก รวมเป็น 12 ประเทศ โดยได้ย้ายสำนักงานใหญ่ไปที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ตั้งแต่ ค.ศ. 1965 กลุ่มโอเปกถือเป็นกลุ่มผู้ส่งออกน้ำมันที่สำคัญ ซึ่งหากกลุ่มโอเปกลดกำลังการผลิตลงก็จะส่งผลให้ราคาน้ำมันตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นรวมถึงประเทศทางเอเชียรวมทั้งประเทศไทยด้วยเช่นกัน แต่ถ้าหากกลุ่มโอเปกกลับมาเพิ่มการผลิตมากขึ้น ก็จะทำให้ราคาน้ำมันตลาดโลกปรับตัวลดลงด้วยเช่นเดียวกัน เนื่องจากมีการผลิตและส่งออกน้ำมันในปริมาณที่เพียงพอต่อมวลมนุษชาติโดยเฉพาะประเทศแถบเอเชีย

สมาชิก

[แก้]

ปัจจุบัน

[แก้]
ประเทศ ทวีป ปีที่เข้าร่วม[2][3] ประชากร
(พ.ศ. 2560)[5]
พื้นที่
(กม.2)[6]
การผลิตปิโตรเลียม
(บาร์เรลต่อวัน, 2016)[A][7]
ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว
(บาร์เรล, 2016)[A][8]
ธงของประเทศแอลจีเรีย แอลจีเรีย แอฟริกาเหนือ 1969 40,606,052 2,381,740 1,348,361 12,200,000,000
ธงของประเทศอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี แอฟริกากลาง 2017 1,221,490 28,050 ... ...
ธงของประเทศกาบอง กาบอง แอฟริกากลาง 1975–1995, 2016 1,979,786 267,667 210,820 2,000,000,000
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน ตะวันออกกลาง 1960 80,277,428 1,648,000 3,990,956 157,530,000,000
ธงของประเทศอิรัก อิรัก ตะวันออกกลาง 1960 37,202,572 437,072 4,451,516 143,069,000,000
ธงของประเทศคูเวต คูเวต ตะวันออกกลาง 1960 4,052,584 17,820 2,923,825 101,500,000,000
ธงของประเทศลิเบีย ลิเบีย แอฟริกาเหนือ 1962 6,293,253 1,759,540 384,686 48,363,000,000
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย แอฟริกาตะวันตก 1971 185,989,640 923,768 1,999,885 37,070,000,000
ธงของสาธารณรัฐคองโก สาธารณรัฐคองโก แอฟริกากลาง 2018[9] 5,125,821 342,000 260,000 1,600,000,000
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย ตะวันออกกลาง 1960 32,275,687 2,149,690 10,460,710 266,578,000,000
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ตะวันออกกลาง 1967 9,269,612 83,600 3,106,077 97,800,000,000
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา อเมริกาใต้ 1960 31,568,179 912,050 2,276,967 299,953,000,000
โอเปกรวม 483,630,000 12,492,695 35,481,740 1,210,703,000,000
ทั่วโลกรวม 8,153,257,000 510,072,000 80,622,287[10] 1,650,585,000,000
เปอร์เซ็นต์โอเปก 6.3% 2.4% 44% 73%
  1. 1.0 1.1 1 บาร์เรลปิโตรเลียม (bbl) ประมาณ 42 แกลลอนสหรัฐอเมริกาหรือ 159 ลิตรหรือ 0.159 ม.3แตกต่างกันเล็กน้อยกับอุณหภูมิ ในบริบทซูเปอร์แทนเกอร์จะถือ 2,000,000 บาร์เรล (320,000 ม.3) และอัตราการผลิตปัจจุบันของโลกจะใช้เวลาประมาณ 56 ปีในการทำให้ปริมาณน้ำมันสำรองที่พิสูจน์แล้วในปัจจุบันของโลกหมดลง[11] and the world's current production rate would take approximately 56 years to exhaust the world's current proven reserves.

อดีต

[แก้]
ประเทศ ทวีป ปีที่เข้าร่วม[2] ประชากร
(พ.ศ. 2560)[5]
พื้นที่
(กม.2)[6]
การผลิตปิโตรเลียม
(บาร์เรลต่อวัน, 2016)[7]
ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว
(บาร์เรล, 2016)[8]
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา แอฟริกาใต้ 2007–2023 [12] 28,813,463 1,246,700 1,769,615 8,423,000,000
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ อเมริกาใต้ 1973–1992, 2007–2020[4] 16,385,068 283,560 548,421 8,273,000,000
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1962–2008,
ม.ค.–พ.ย. 2016
261,115,456 1,904,569 833,667 3,692,500,000
ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ ตะวันออกกลาง 1961–2019[13] 2,569,804 11,437 1,522,902 25,244,000,000

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Glossary of Industrial Organisation Economics and Competition Law" (PDF). OECD. 1993. p. 19.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Member Countries". OPEC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2020. สืบค้นเมื่อ 7 January 2020.
  3. 3.0 3.1 "OPEC 172nd Meeting concludes". OPEC (Press release). 11 March 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2017. สืบค้นเมื่อ 26 May 2017.
  4. 4.0 4.1 "Comunicado Oficial" [Official Statement] (Press release) (ภาษาสเปน). Metropolitan District of Quito, Ecuador: Ministry of Energy and Non-Renewable Natural Resources. 2020-01-02. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-06. สืบค้นเมื่อ 2020-01-06.
  5. 5.0 5.1 "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  6. 6.0 6.1 "Field Listing: Area". The World Factbook. Central Intelligence Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2014. สืบค้นเมื่อ 4 January 2009.
  7. 7.0 7.1 "Production of Crude Oil including Lease Condensate 2016" (CVS download). US Energy Information Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2017. สืบค้นเมื่อ 28 May 2017.
  8. 8.0 8.1 "Crude Oil Proved Reserves 2016" (CVS download). U.S. Energy Information Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2017. สืบค้นเมื่อ 28 May 2017.
  9. Editorial. "Congo Republic becomes OPEC oil cartel's newest member". U.K. (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-06-22.
  10. Excluding condensate oil production of nearly 20 million bbl/day
  11. Hayler, William B.; Keever, John M. (2003). American Merchant Seaman's Manual. Cornell Maritime Press. p. 14.3. ISBN 978-0-87033-549-5.
  12. "Angola leaves Opec oil cartel in output quota row". BBC.com. 22 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2023.
  13. Alkhalisi, Zahraa (3 December 2018). "Qatar is pulling out of OPEC to focus on gas". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2018. สืบค้นเมื่อ 3 December 2018.