เอเชียนพาราเกมส์ 2010
หน้าตา
เมืองเจ้าภาพ | กว่างโจว จีน |
---|---|
คำขวัญ | คำขวัญ: เราเป็นกำลังใจให้เราแบ่งปันเราชนะ (我们欢聚,我们分享,我们共赢!) |
ประเทศเข้าร่วม | 41 |
นักกีฬาเข้าร่วม | 2,405 |
กีฬา | 19 ชนิด |
พิธีเปิด | 12 ธันวาคม ค.ศ. 2010 |
พิธีปิด | 19 ธันวาคม ค.ศ. 2010 |
ประธานพิธี | รองนายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง |
นักกีฬาปฏิญาณ | หลี่ ดวน |
ผู้จุดคบเพลิง | ซัง หลี่ฉิน ซัง ไฮ หยวน |
สนามกีฬาหลัก | สนามกีฬาโอลิมปิก |
กีฬาเอเชียนพาราเกมส์ 2010 การแข่งขันกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กว่างโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 12 ธันวาคม - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2010
คำขวัญ และ สัญลักษณ์
[แก้]สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ
[แก้]สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการของการแข่งขันเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 8 มีสัญลักษณ์เป็นรูป
คำขวัญ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์นำโชค
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์กีฬา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เพลงประจำการแข่งขัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สนามแข่งขัน
[แก้]32 สนามการแข่งขันที่มีอยู่และโรงยิมได้รับการปรับปรุงโดยการจัดงานนอกจาก 11 อาคารใหม่ค่าใช้จ่ายรวมประมาณ 6 พันล้านหยวน (สามหมื่นหนึ่งพันล้านบาทไทย) หมู่บ้านนักกีฬาค่าใช้จ่ายประมาณ 2 พันล้านหยวน (หนึ่งหมื่นล้านบาทไทย) [1]
- สนามกีฬาโอลิมปิกกวางตุ้ง (สนามกีฬาหลัก)
- ศูนย์กีฬาเทียนเหอ
- กว่างโจวยิมเนเซียม
- สนามกีฬากว่างโจว
- สนามกีฬาหวงผู่
- ศูนย์การพายเรือต่างประเทศกวางตุ้ง
- ไป่หยุนนิวซิตี้
- ฮัวดินิวซิตี้
- คอร์สแข่งจักรยานกว่างโจว
- เขตพื้นที่พัฒนาวอลเลย์บอลชายหาดหนานซาน
- สนามกีฬาหนานซาน
- สนามกีฬากว่างโจวตำบลหลัวแก๊ง
พิธีเปิด - ปิดการแข่งขัน
[แก้]พิธีเปิด
[แก้]พิธีปิด
[แก้]ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน
[แก้]
|
|
การแข่งขัน
[แก้]ชนิดกีฬา
[แก้]เอเชียนพาราเกมส์ในครั้งนี้ บรรจุชนิดกีฬาทั้งหมด 19 ประเภท
|
ตารางการแข่งขัน
[แก้]แม่แบบ:ปฏิทินกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ 2010
ตารางสรุปเหรียญรางวัล
[แก้]อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | จีน | 185 | 118 | 88 | 391 |
2 | ญี่ปุ่น | 32 | 39 | 32 | 103 |
3 | เกาหลีใต้ | 27 | 43 | 33 | 103 |
4 | อิหร่าน | 27 | 24 | 29 | 80 |
5 | ไทย | 20 | 34 | 39 | 93 |
6 | มาเลเซีย | 9 | 13 | 23 | 45 |
7 | อิรัก | 9 | 5 | 6 | 20 |
8 | จีนไทเป | 8 | 7 | 11 | 26 |
9 | ฮ่องกง | 5 | 9 | 14 | 28 |
10 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 4 | 6 | 1 | 11 |
รายนามนักกีฬาไทยที่ได้เหรียญรางวัล
[แก้]ในการแข่งขันเฟสปิกเกมส์ครั้งนี้ นักกีฬาไทยสามารถทำผลงานได้ทั้งหมด เหรียญ แบ่งเป็น
- เหรียญทอง จำนวน 20 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
- เหรียญเงิน จำนวน 34 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
- เหรียญทองแดง จำนวน 39 เหรียญ จาก ชนิดกีฬา ได้แก่
การตลาด
[แก้]สิทธิการออกอากาศ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกร็ดการแข่งขัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผู้สนับสนุน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Guangzhou: Olympic Sports Center chosen as chief venue for 2010 Asian Games". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2014-10-04.
ก่อนหน้า | เอเชียนพาราเกมส์ 2010 | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
กีฬาเฟสปิก 2006 ([[ กัวลาลัมเปอร์ ]] มาเลเซีย) |
การแข่งขันกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ (12 ธันวาคม - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2010) |
เอเชียนพาราเกมส์ 2014 (อินช็อน, ประเทศเกาหลีใต้) |