ข้ามไปเนื้อหา

เบตาโพรพิโอแล็กโทน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
β-Propiolactone
Skeletal formula
Balla-and-stick model
ชื่อ
Preferred IUPAC name
Oxetan-2-one
ชื่ออื่น
Propiolactone
β-Propiolactone
2-Oxetanone
3-Hydroxypropanoic acid lactone
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.000.309 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 200-340-1
KEGG
RTECS number
  • RQ7350000
UNII
UN number 2810
  • InChI=1S/C3H4O2/c4-3-1-2-5-3/h1-2H2 checkY
    Key: VEZXCJBBBCKRPI-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C3H4O2/c4-3-1-2-5-3/h1-2H2
    Key: VEZXCJBBBCKRPI-UHFFFAOYAQ
  • O=C1OCC1
คุณสมบัติ
C3H4O2
มวลโมเลกุล 72.063 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวใสไร้สี
กลิ่น หอมหน่อย ๆ[1]
ความหนาแน่น 1.1460 ก./ซม3
จุดหลอมเหลว −33.4 องศาเซลเซียส (−28.1 องศาฟาเรนไฮต์; 239.8 เคลวิน)
จุดเดือด 162 องศาเซลเซียส (324 องศาฟาเรนไฮต์; 435 เคลวิน) (สลายตัว)
37 ก./100 มล.
ความสามารถละลายได้ ใน ตัวทำละลายอินทรีย์ ผสมเข้ากันได้
ความดันไอ 3 mmHg (25°C)[1]
1.4131
ความอันตราย
GHS labelling:
The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)

The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)

อันตราย
H315, H319, H330, H350
P201, P202, P260, P264, P271, P280, P281, P284, P302 P352, P304 P340, P305 P351 P338, P308 P313, P310, P320, P321, P332 P313, P337 P313, P362, P403 P233, P405, P501
จุดวาบไฟ 74 องศาเซลเซียส; 165 องศาฟาเรนไฮต์; 347 เคลวิน [1]
ขีดจำกัดการระเบิด 2.9%-?[1]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
OSHA-Regulated carcinogen[1]
REL (Recommended)
Ca[1]
IDLH (Immediate danger)
Ca [N.D.][1]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

เบตาโพรพิโอแล็กโทน (อังกฤษ: β-Propiolactone, Beta-Propiolactone) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มแล็กโทน (lactone) โมเลกุลของสารมีทรงวงแหวนและมีสมาชิก 4 องค์ เป็นของเหลวใสไร้สี มีกลิ่นหอมเล็กน้อย ละลายน้ำได้ดี และผสมเข้ากันได้กับเอทานอล, แอซีโทน, diethyl ether และคลอโรฟอร์ม[2][3] คำโดด ๆ ว่า โพรพิโอแล็กโทน ปกติจะหมายถึงสารประกอบนี้ แต่ก็อาจหมายถึงอัลฟาโพรพิโอแล็กโทน (alpha-propiolactone, α-propiolactone) ได้เหมือนกัน

เชิงอรรถและอ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0528". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. "β-Propiolactone CAS No. 57-57-8" - US Department of Health and Human Services, Report on Carcinogens, National Toxicology Program, Thirteenth Edition, 2 October 2014. Accessed on 2015-01-03.
  3. Merck Index, 12th Edition, entry 8005.