ข้ามไปเนื้อหา

อีวิลลาฟเตอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อีวิลลาฟเตอร์ (อังกฤษ: evil laughter) หรือ มาไนอาคัลลาฟเตอร์ (maniacal laughter) เป็นเสียงประกอบเผื่อใช้ที่เป็นเสียงหัวเราะอย่างบ้าคลั่งของวายร้ายในนวนิยาย ผลิตใน ค.ศ. 1860[1] ส่วน "วิกเก็ดลาฟ" (wicked laugh) ถูกผลิตใน ค.ศ. 1784[2] และ "ซาร์ดอนิกลาฟ" (sardonic laugh) ผลิตใน ค.ศ. 1714 หรือก่อนหน้านั้น[3]

ในหนังสือการ์ตูน เมื่อตัวร้ายที่มีพลังพิเศษจะหัวเราะ คำพูดนั้นจะถูกแปลงเป็น มุวะฮาฮาฮา (mwahahaha, muwhahaha, muahahaha), บวะฮาฮาฮา (bwahahaha) เป็นต้น[4] ในคริสต์ทศวรรษ 1930 เดอะแชโดว์ รายการวิทยุอันโด่งดังได้ใช้เสียงหัวเราะเป็นส่วนหนึ่งของรายการ ซึ่งให้เสียงโดยนักแสดง แฟรงก์ รีดิก (Frank Readick) และยังคงถูกใช้ต่อ หลังจากออร์สัน เวลส์เป็นพิธีกรต่อ[5] เสียงนี้เป็นที่สะดุดตาในตอนท้ายของมิวสิกวิดีโอ ไมเคิล แจ็กสัน ทริลเลอร์

ในภาพยนตร์ มักใส่เสียงนี้ในตอนที่ตัวร้ายไม่ปรากฏต่อหน้ากล้อง เช่น เสียงหัวเราะไล่ตามวีรบุรุษหรือเหยี่อที่พยายามหลบหนี ดังตัวอย่างใน ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

อ้างอิง

[แก้]
  1. Littell, Eliakim; Littell, Robert S.; Making of America Project (1860), "The Luck of Ladysmede, part X", Littell's The living age, Littell, son & company, 64: 228
  2. Burney, Fanny (1784), Barrett, Charlotte (บ.ก.), Diary and Letters of Madame D'Arblay: 1778 to 1784, Bickers and son, p. 279
  3. Steele, Richard; Addison, Joseph (April 14, 1714), The Guardian, vol. 1, J. Tonson, p. 118
  4. Zawacki, Neil; Dignan, James (2003). How to be a villain: evil laughs, secret lairs, master plans, and more!!!. Chronicle Books. p. 23. ISBN 0-8118-4666-0.
  5. Mott, Robert L. (2009). The audio theater guide: vocal acting, writing, sound effects and directing for a listening audience. McFarland. p. 31. ISBN 0-7864-4483-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]