อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | |
เมือง | กรุงเทพมหานคร |
วันที่ | 2 – 10 เมษายน พ.ศ. 2565 |
ทีม | 9 |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 16) |
รองชนะเลิศ | อินโดนีเซีย |
อันดับที่ 3 | เวียดนาม |
อันดับที่ 4 | พม่า |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 20 |
จำนวนประตู | 161 (8.05 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,205 (60 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | มูฮัมหมัด อุสมานมูซา (11 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | กฤษดา วงษ์แก้ว |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | Muhammad Albagir |
การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 17 ของทัวร์นาเมนต์ เริ่มทำการแข่งขันในช่วงเดือนเมษายน ค.ศ. 2022 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1][2]
3 ทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้สิทธิ์เข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 ใน ประเทศคูเวต เป็นตัวแทนของเอเอฟเอฟ
ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก
[แก้]ไม่มีการคัดเลือกทุกทีมสามารถเข้ามาเล่นในรอบสุดท้าย โดยมี 9 ทีมจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนมาเข้าร่วมแข่งขัน บรูไน กลับเข้ามาสำหรับทัวร์นาเมนต์นี้หลังจากหายไป 4 ปี นับตั้งแต่การลงสนามครั้งล่าสุดใน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018[3]
ทีม | สมาคม | เข้าร่วม | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|
ไทย | สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | 16 ครั้ง | ชนะเลิศ (2001, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2022) |
อินโดนีเซีย | เอฟเอ อินโดนีเซีย | 15 ครั้ง | ชนะเลิศ (2010) |
มาเลเซีย | เอฟเอ มาเลเซีย | 17 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2003, 2005, 2010, 2017, 2018) |
ออสเตรเลีย | เอฟเอฟ ออสเตรเลีย | 6 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2007, 2013, 2014, 2015) |
เวียดนาม | เวียดนาม เอฟเอฟ | 14 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2009, 2012) |
พม่า | เมียนมาร์ เอฟเอฟ | 14 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2016) |
บรูไน | เอฟเอ บรูไน ดารุสซาลาม | 14 ครั้ง | อันดับ 4 (2001, 2005 และ 2008) |
กัมพูชา | เอฟเอฟ กัมพูชา | 6 ครั้ง | อันดับ 4 (2003, 2006) |
ติมอร์-เลสเต | เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต | 10 ครั้ง | อันดับ 4 (2016) |
ไม่ได้เข้าร่วม |
---|
ลาว |
ฟิลิปปินส์ |
สิงคโปร์ |
สนามแข่งขัน
[แก้]ทุกนัดทั้งหมดจะจัดขึ้นใน อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก, กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร |
---|
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก |
ความจุ: 8,000 |
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น UTC 7
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย (H) | 4 | 3 | 1 | 0 | 35 | 4 | 31 | 10 | รอบแพ้คัดออก |
2 | อินโดนีเซีย | 4 | 3 | 1 | 0 | 30 | 5 | 25 | 10 | |
3 | มาเลเซีย | 4 | 2 | 0 | 2 | 20 | 15 | 5 | 6 | |
4 | กัมพูชา | 4 | 0 | 1 | 3 | 10 | 36 | −26 | 1 | |
5 | บรูไน | 4 | 0 | 1 | 3 | 2 | 37 | −35 | 1 |
มาเลเซีย | 7–6 | กัมพูชา |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ไทย | 13–0 | บรูไน |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
กัมพูชา | 0–16 | ไทย |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
อินโดนีเซีย | 5–1 | มาเลเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
อินโดนีเซีย | 2–2 | ไทย |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ไทย | 4–2 | มาเลเซีย |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | พม่า | 3 | 2 | 1 | 0 | 17 | 5 | 12 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เวียดนาม | 3 | 2 | 1 | 0 | 13 | 3 | 10 | 7 | |
3 | ออสเตรเลีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 9 | 15 | −6 | 3 | |
4 | ติมอร์-เลสเต | 2 | 0 | 0 | 2 | 5 | 14 | −9 | 0 |
เวียดนาม | 1–1 | พม่า |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ออสเตรเลีย | 1–6 | พม่า |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ติมอร์-เลสเต | 1–7 | เวียดนาม |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
เวียดนาม | 5–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
พม่า | 10–3 | ติมอร์-เลสเต |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
พม่า | 1 | |||||
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
อินโดนีเซีย | 6 | |||||
อินโดนีเซีย | 2 (3) | |||||
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
ไทย (ลูกโทษ) | 2 (5) | |||||
ไทย | 3 | |||||
เวียดนาม | 1 | |||||
รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
พม่า | 1 (1) | |||||
เวียดนาม (ลูกโทษ) | 1 (4) |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
พม่า | 1–6 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
|
ไทย | 3–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
|
|
นัดชิงอันดับที่สาม
[แก้]ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
พม่า | 1–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
|
||
ลูกโทษ | ||
1–4 |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]อินโดนีเซีย | 2–2 | ไทย |
---|---|---|
|
||
ลูกโทษ | ||
3–5 |
ผู้ชนะ
[แก้]ผู้ชนะการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 |
---|
ไทย ครั้งที่ 16 |
อันดับดาวซัลโว
[แก้]มีการทำประตู 149 ประตู จากการแข่งขัน 17 นัด เฉลี่ย 8.76 ประตูต่อนัด
การทำประตู 11 ครั้ง
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 7 ครั้ง
การทำประตู 6 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
- Nicholas Rathjen
- Scott Rogan
- Shervin Adeli
- Orkchan Sereyvong
- Dewa Rizki
- Firman Ardiansyah
- Khairul Effendy
- Joshua Lee
- Mohamad Shufri Shamil
- Muhammad Ekmal Shahrin
- Myo Myint Soe
- กฤษณ์ อรัญสัญญาลักษณ์
- อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ
- Mesquita Joaquim
- Miguel Fernandes
- Nguyễn Minh Trí
- Nguyễn Văn Hiếu
- Nhan Gia Hưng
- Trần Thái Huy
การทำประตู 1 ครั้ง
- Anthony Haddad
- Daniel Fornito
- Jordan Guerreiro
- Ros Sichamroeun
- Diamant Prum
- Sothydaroth Lun
- Marvin Alexa
- Mochammad Iqbal Iskandar
- Rio Pangestu
- Sunny Rizky
- Muhammad Aidil Rosli
- Ridzwan Bakri
- Saiful Nizam Ali
- Aung Zin Oo
- Hein Min Soe
- Lin Tun Kyaw
- Myo Thet Aung
- Nyein Min Soe
- Wai Zin Oo
- อัษฎาวุฒิ แจ้งคต
- ศุภกร บวรรัชฎากุล
- Bendito Xinenes
- Cesario Silvano
- Venceslau Fatima Guterres
- Châu Đoàn Phát
- Lê Quốc Nam
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- Ahmed Sweeden (ในนัดที่พบกับ ติมอร์ เลสเต)
- Dylan Niski (ในนัดที่พบกับ พม่า)
- Jumatatulaleshahrezan Metali (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย)
- Muhd Abd Khaaliq (ในนัดที่พบกับ ไทย)
- Muhammad Aiman Amin (ในนัดที่พบกับ ไทย)
- Diamant Prum (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย)
- Duk Sopath (ในนัดที่พบกับ ไทย)
การทำเข้าประตูตัวเอง 2 ครั้ง
- Khalil Saab (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย และ กัมพูชา)
- Ros Sichamroeun (ในนัดที่พบกับ มาเลเซีย)
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
[แก้]ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | วันที่ผ่านเข้ารอบ | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมาใน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย |
---|---|---|---|
ไทย | ชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 | 8 เมษายน พ.ศ. 2565 | รองชนะเลิศ (2008, 2012) |
อินโดนีเซีย | รองชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 | 8 เมษายน พ.ศ. 2565 | รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014) |
เวียดนาม | อันดับ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 | 10 เมษายน พ.ศ. 2565 | อันดับ 4 (2016) |
ลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด
[แก้]ประเทศ/โซน | สถานีการถ่ายทอด |
---|---|
อาเซียน | เฟซบุ๊ก เพจ : Futsal Thailand - ฟุตซอล ไทยแลนด์ |
กัมพูชา | Hang Meas HDTV |
อินโดนีเซีย | MNC Sports, RCTI, INews |
มาเลเซีย | Astro Arena |
ไทย | 9 MCOT HD, T Sport 7 |
เวียดนาม | On Sports TV |
ออสเตรเลีย | My Football |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Champs Thailand in Group A of AFF Futsal". Asean Football Federation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
- ↑ "Groups finalised for AFF Futsal Championship 2022". Asian Football Confederation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
- ↑ "Brunei DS to take part in five AFF events in 2022". Asean Football Federation. 5 January 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.