ข้ามไปเนื้อหา

อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
เอเอฟเอฟ เอไอเอส ฟุตซอล แชมเปียนชิพ 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร
วันที่23−29 มกราคม 2560
ทีม7 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติไทย ไทย (สมัยที่ 12)
รองชนะเลิศธงชาติประเทศพม่า พม่า
อันดับที่ 3ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
อันดับที่ 4ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน11
จำนวนประตู134 (12.18 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศพม่า Pyae Phyo Maung (8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติไทย ไทย
2015
2017

การแข่งขัน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 13 ของทัวร์นาเมนต์ซึ่งจัดขึ้นที่ ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม ถึง 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559[1]

ภายหลังการทราบข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เลื่อนการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 ออกไป ต่อมาอินโดนีเซียเสนอตัวรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพแทนเพื่อจัดการแข่งขันต่อไป[2] แต่ทางอินโดนีเซียก็ได้ขอถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพเช่นกัน ทำให้สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนได้เจรจากับสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคมที่ผ่านมา แต่ด้วยเวลาที่มีอยู่จำกัดทำให้สิงคโปร์ หาผู้สนับสนุนไม่ทันจึงไม่พร้อมที่จะเป็นเจ้าภาพ ทำให้ทางสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ตัดสินใจยกเลิกการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016 อย่างเป็นทางการ [3] แต่ในการประชุมสภากรรมการ ฝ่ายบริหารของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ได้มีมติให้ประเทศไทยกลับมาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันที่สนามอินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก โดยเลื่อนไปเป็นเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 โดยมีสิงค์โปร์ที่จะหาสถานที่รองรับการแข่งขันในกรณีที่ประเทศไทยไม่พร้อม[4] โดยล่าสุดทีมชาติเวียดนามและทีมชาติสิงค์โปร์ เป็นสองทีมล่าสุดที่ขอถอนทีมออกจากการแข่งขันในครั้งนี้

ทีม

[แก้]
กลุ่ม เอ กลุ่ม บี

สนามแข่งขัน

[แก้]
กรุงเทพมหานคร
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ที่ตั้งของสนามในการแข่งขัน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016.
ความจุ: 10,000

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

ในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 (จะมีประกาศแจ้งให้ทราบในภายหลัง)

เวลาที่ระบุไว่เป็น UTC 7.

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไทย ไทย 2 2 0 0 28 4 24 6 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 2 1 0 1 10 17 −7 3
3 ธงชาติบรูไน บรูไน 2 0 0 2 8 25 −17 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560. แหล่งข้อมูล: เอเอฟเอฟ


กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 3 3 0 0 17 7 10 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 3 2 0 1 22 11 11 6
3 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 1 0 2 27 13 14 3
4 ธงชาติลาว ลาว 3 0 0 3 3 38 −35 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560. แหล่งข้อมูล: เอเอฟเอฟ


อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย19–1ธงชาติลาว ลาว
Syahidanshah ประตู 3'16'17'28'
Iqbal ประตู 8'
Ardiansyah ประตู 8'19'24'
Andri ประตู 10'33'34'
Septyan ประตู 12'
Fajri ประตู 13'
Reza ประตู 14'35'
Bayu ประตู 17'19'31'
Jaelani ประตู 21'
Phasawaeng ประตู 38'

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
27 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร
 
 
ธงชาติประเทศพม่า พม่า8
 
29 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร
 
ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต3
 
ธงชาติประเทศพม่า พม่า1
 
27 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร
 
ธงชาติไทย ไทย8
 
ธงชาติไทย ไทย5
 
 
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย3
 
นัดชิงอันดับที่สาม
 
 
29 มกราคม 2560 – กรุงเทพมหานคร
 
 
ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต1
 
 
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย8

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงอันดับที่สาม

[แก้]
ติมอร์-เลสเต ธงชาติติมอร์-เลสเต1–8ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
Vide ประตู 1' ประตู 5' Azri
ประตู 17' Saiful
ประตู 21'37' Effendy
ประตู 28' Ridzwan
ประตู 30'36' Awalluddin
ประตู 40' Azwann

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
พม่า ธงชาติประเทศพม่า1–8ธงชาติไทย ไทย
Pyae ประตู 15' ประตู 8' (เข้าประตูตัวเอง) Pyae
ประตู 12'39' จิรวัฒน์
ประตู 13' ชัยวัฒน์
ประตู 17' พีระพล
ประตู 22' ปัญญา
ประตู 27' ปาณัสน์
ประตู 29' สรศักดิ์

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "AFF FUTSAL CHAMPIONSHIP 2016". 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. "ไทยยกเลิกเจ้าภาพฟุตซอลอาเซี่ยน-อาจโยกสิทธิ์ให้อินโดฯ". 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-14. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. "อินโดฯยกเลิกเจ้าภาพฟุตซอลอาเซี่ยน"" งดแข่งปีนี้". 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-14. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. "ประชุมได้ข้อสรุป ฟุตซอลอาเซียน 2016 ไทยยังจัดต่อ สิงคโปร์พร้อมสแตนด์บาย". FourFourTwo. 30 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]