ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อผู้ชนะเลิศฟุตบอลไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลีกไทย (ระดับที่ 1)
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (2459–2538)
ไทยลีก (2539–ปัจจุบัน)
ประเทศ
 ไทย
ก่อตั้ง
พ.ศ. 2459
จำนวนทีม
16 (ตั้งแต่ 2562)
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (2566–67)
ทีมชนะเลิศมากที่สุด
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด (13 สมัย)

รายนามทำเนียบสโมสรชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลระดับลึกสูงสุดของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็นสองยุค คือ

ตัวเอียง คือ ชนะเลิศสองรายการในฤดูกาล - เช่น ชนะเลิศลีกและฟุตบอลถ้วยหลักในประเทศ (ควีนสคัพ, เอฟเอคัพ, ลีกคัพ) หรือ ชนะเลิศลีกและฟุตบอลสโมสรระดับทวีป (เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก)

ตัวหนา คือชนะเลิศสามรายการในฤดูกาล

รายนามสโมสรชนะเลิศฟุตบอลลีกสูงสุด

[แก้]

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (2459-2538)

[แก้]

รายนามทำเนียบสโมสรชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลถ้วยใหญ่ (2459-2504) และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (2505-2538) ในการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรสูงสุดของประเทศ[1]

ฟุตบอลถ้วยใหญ่ (2459-2504)

[แก้]
ครั้งที่ ประจำปี สโมสรชนะเลิศ
1 2459 สโมสรกรมมหรสพ
2 2460 สโมสรมหาดเล็กหลวง
3 2461 สโมสรมหาดเล็กหลวง
4 2462 สโมสรมหาดเล็กหลวง
5 2463 จุฬาลงกรณ์ฟุตบอลสโมสร
6 2464 สโมสรโรงเรียนนายร้อยทหารบก
7 2465 สโมสรโรงเรียนนายร้อยทหารบก
8 2466 สโมสรโรงเรียนนายเรือ
9 2467 สโมสรโรงเรียนนายเรือ
ปี 2468 ไม่มีการแข่งขัน
10 2469 สโมสรกองเดินรถ
11 2470 สโมสรกองเดินรถ
12 2471 สโมสรสวนกุหลาบวิทยาลัย
13 2472 สโมสรสวนกุหลาบวิทยาลัย
14 2473 สโมสรอัสสัมชัญ
15 2474 สโมสรไปรษณีย์
ปี 2475 - 2490 ไม่มีการแข่งขัน
16 2491 สโมสรบางรัก
17 2492 สโมสรอัสสัมชัญ
ปี 2493 ไม่มีการแข่งขัน
18 2494 สโมสรชายสด
19 2495 สโมสรทหารอากาศ
20 2496 สโมสรทหารอากาศ
21 2497 สโมสรจีนแคะ
22 2498 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์ฯ
23 2499 สโมสรไหหลำแห่งประเทศไทย
24 2500 สโมสรทหารอากาศ
25 2501 สโมสรทหารอากาศ
26 2502 สโมสรทหารอากาศ
27 2503 สโมสรทหารอากาศ
28 2504 สโมสรทหารอากาศ

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (2505-2538)

[แก้]
ครั้งที่ ปี ทีมที่ชนะเลิศ
29 2505 สโมสรทหารอากาศ
30 2506 สโมสรทหารอากาศ
31 2507 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
32 2508 สโมสรตำรวจ
33 2509 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
34 2510 สโมสรธนาคารกรุงเทพ - สโมสรทหารอากาศ (ชนะเลิศร่วมกัน)
35 2511 สโมสรตำรวจ
36 2512 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
37 2513 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
38 2514 สโมสรราชวิถี
39 2515 สโมสรราชประชานุเคราะห์
40 2516 สโมสรราชประชานุเคราะห์
41 2517 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
42 2518 สโมสรราชวิถี
43 2519 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
44 2520 สโมสรราชวิถี
45 2521 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
46 2522 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
47 2523 สโมสรราชประชา
48 2524 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
49 2525 สโมสรราชประชา
50 2526 สโมสรทหารบก
51 2527 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
52 2528 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
53 2529 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
54 2530 สโมสรทหารอากาศ
55 2531 สโมสรธนาคารกรุงไทย
56 2532 สโมสรธนาคารกรุงไทย
57 2533 สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย
58 2534 สโมสรธนาคารกสิกรไทย
59 2535 สโมสรธนาคารกสิกรไทย
60 2536 สโมสรธนาคารกสิกรไทย
61 2537 สโมสรธนาคารกรุงเทพ
62 2538 สโมสรธนาคารกสิกรไทย

ไทยลีก (2539 - ปัจจุบัน)

[แก้]

รายนามทำเนียบสโมสรชนะเลิศการแข่งขัน ไทยลีก (2539-ปัจจุบัน) ในการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรสูงสุดของประเทศ

จอห์นนี วอล์กเกอร์ ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก (2539-2540)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2539/40 ธนาคารกรุงเทพ (1) ตลาดหลักทรัพย์ฯ องค์การโทรศัพท์ฯ ไทย อัมพร อำพันสุวรรณ (องค์การโทรศัพท์ฯ) 21
2540 ทหารอากาศ (1) สินธนา ธนาคารกรุงเทพ ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ (บีอีซี เทโรศาสน) 17

คาลเท็กซ์พรีเมียร์ลีก (2541–2543)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2541 สินธนา (1) ทหารอากาศ บีอีซี เทโรศาสน ไทย รณชัย สยมชัย (การท่าเรือฯ) 23
2542 ทหารอากาศ (2) การท่าเรือฯ บีอีซี เทโรศาสน ไทย สุธี สุขสมกิจ (ธ.กสิกรไทย) 13
2543 บีอีซี เทโรศาสน (1) ทหารอากาศ ธ.กสิกรไทย ไทย สุธี สุขสมกิจ (ธ.กสิกรไทย) 16

ไทยลีก (ยุคแรก) (2544–2548)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2544/45 บีอีซี เทโรศาสน (2) โอสถสภา ธนาคารกรุงเทพ ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ (บีอีซี เทโรศาสน)
ไทย ปิติพงษ์ กุลดิลก (การท่าเรือฯ)
12
2545/46 ธนาคารกรุงไทย (1) บีอีซี เทโรศาสน การท่าเรือฯ ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี (การท่าเรือฯ) 12
2546/47 ธนาคารกรุงไทย (2) บีอีซี เทโรศาสน โอสถสภา ไทย วิมล จันทร์คำ (โอสถสภา) 14
2547/48 พนักงานยาสูบ (1) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โอสถสภา ไทย ศุภกิจ จินะใจ (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)
ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี (การท่าเรือฯ)
10

ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก (2549–2551)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2549 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (1) โอสถสภา เอ็ม-150 บีอีซี เทโรศาสน ไทย พิพัฒน์ ต้นกันยา (บีอีซี เทโรศาสน) 12
2550 ชลบุรี เอฟซี (1) ธนาคารกรุงไทย บีอีซี เทโรศาสน บราซิล เนย์ ฟาเบียโน (พนักงานยาสูบ) 18
2551 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (1) ชลบุรี เอฟซี บีอีซี เทโรศาสน ไทย อานนท์ สังข์สระน้อย (บีอีซี เทโรศาสน) 20

ไทยพรีเมียร์ลีก (2552–2558)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2552 เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด (1) ชลบุรี เอฟซี บางกอกกล๊าส ไทย อานนท์ สังข์สระน้อย (บีอีซี เทโรศาสน) 18
2553 เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด (2) บุรีรัมย์ พีอีเอ ชลบุรี เอฟซี แคเมอรูน ลูโดวิด ทาคาม (พัทยา ยูไนเต็ด) 17
2554 บุรีรัมย์ พีอีเอ (1) ชลบุรี เอฟซี เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด แคเมอรูน แฟรงค์ โอฮานด์ซา (บุรีรัมย์ พีอีเอ) 19
2555 เอสซีจี เมืองทองฯ ยูไนเต็ด (3) ชลบุรี เอฟซี บีอีซี เทโรศาสน ไทย ธีรศิลป์ แดงดา (เอสซีจี เมืองทองฯ ยูไนเต็ด)
บราซิล คลีตัน ซิลวา (บีอีซี เทโรศาสน)
24
2556 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (2) เอสซีจี เมืองทองฯ ยูไนเต็ด ชลบุรี เอฟซี สเปน คาร์เมโล กอนซาเลซ (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) 23
2557 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (3) ชลบุรี เอฟซี บีอีซี เทโรศาสน บราซิล เฮแบร์ตี้ แฟร์นานเดส (ราชบุรี มิตรผล เอฟซี) 26
2558 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (4) เอสซีจี เมืองทองฯ ยูไนเต็ด สุพรรณบุรี เอฟซี บราซิล ดิโอโก หลุยส์ ซานโต (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) 33

ไทยลีก (ยุคสอง) (2559–ปัจจุบัน)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ
(สมัยที่)
รองชนะเลิศ อันดับสาม ผู้ทำประตูสูงสุด ประตู
2559 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (4) แบงค็อก ยูไนเต็ด บางกอกกล๊าส บราซิล เคลย์ตง ซิลวา (เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด) 27
2560 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (5) เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด แบงค็อก ยูไนเต็ด มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช (แบงค็อก ยูไนเต็ด) 38
2561 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (6) ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด การท่าเรือ บราซิล ดิโอโก หลุยส์ ซานโต (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) 34
2562 เชียงราย ยูไนเต็ด (1) บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด การท่าเรือ กินี ลอนซานา ดูมบูยา (ตราด เอฟซี) 20
2563–64 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (1) บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด การท่าเรือ บราซิล บาร์รอส ทาร์เดลี (สมุทรปราการ ซิตี้) 25
2564–65 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (7) บีจี ปทุม ยูไนเต็ด แบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล ฮามิลตง ซูวาริส (หนองบัว พิชญ) 19
2565–66 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (8) แบงค็อก ยูไนเต็ด การท่าเรือ ไทย ศุภชัย ใจเด็ด (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) 19
2566–67 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (9)

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันมากที่สุด

[แก้]
สโมสร ชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด
13
2495, 2496, 2500, 2501, 2502, 2503 ,2504, 2505, 2506, 2510 (ชนะเลิศร่วม), 2530 (ถ้วย ก)

2540, 2542 (ไทยลีก)

ธ.กรุงเทพ
9
2507, 2509, 2510 (ชนะเลิศร่วม), 2512, 2524, 2527, 2529, 2537 (ถ้วย ก)

2539 (ไทยลีก)

บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
9
2554, 2556, 2557, 2558, 2560, 2561, 2564–65, 2565–66, 2566–67 (ไทยลีก)
การท่าเรือ
7
2513, 2517, 2519, 2521, 2522, 2528, 2533 (ถ้วย ก)
ราชประชา
4
2515, 2516, 2523, 2525 (ถ้วย ก)
ธนาคารกสิกรไทย 2534, 2535, 2536, 2538 (ถ้วย ก)
ธนาคารกรุงไทย 2531, 2532 (ถ้วย ก)

2545/46, 2546/47 (ไทยลีก)

เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2552, 2553, 2555, 2559 (ไทยลีก)
มหาดเล็กหลวง
3
2460, 2461, 2462 (ถ้วย ก)
ราชวิถี 2514, 2518, 2520 (ถ้วย ก)
ทหารบก 2464, 2465, 2526 (ถ้วย ก)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
2463, 2498 (ถ้วย ก)
ราชนาวี 2466, 2467 (ถ้วย ก)
กองเดินรถ 2469, 2470 (ถ้วย ก)
สวนกุหลาบวิทยาลัย 2471, 2472 (ถ้วย ก)
อัสสัมชัญ 2473, 2492 (ถ้วย ก)
โปลิศ เทโร 2543, 2544/45 (ไทยลีก)
กรมมหรสพ
1
2459 (ถ้วย ก)
ไปรษณีย์ 2474 (ถ้วย ก)
บางรัก 2491 (ถ้วย ก)
ชายสด 2494 (ถ้วย ก)
สมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย 2497 (ถ้วย ก)
ไหหลำแห่งประเทศไทย 2499 (ถ้วย ก)
บีบีซียู 2541 (ไทยลีก)
ยาสูบ 2547/48 (ไทยลีก)
แบงค็อก ยูไนเต็ด 2549 (ไทยลีก)
ชลบุรี 2550 (ไทยลีก)
เชียงราย ยูไนเต็ด 2562 (ไทยลีก)
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2551 (ไทยลีก)
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด 2563–64 (ไทยลีก)

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันตามภูมิภาค

[แก้]

หมายเหตุ: นับเฉพาะ ไทยลีก (2539 - ปัจจุบัน)

แยกตามภูมิภาค

[แก้]
ภาค จำนวน สโมสร
ภาคกลาง
16
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด (4), โปลิศ เทโร (2), แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด (2), ธ.กรุงไทย (2), ธ.กรุงเทพ (1), แบงค็อก ยูไนเต็ด (1), บีบีซียู (1), การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (1), ยาสูบ ศุลกากร (1), บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (1)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
9
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (9)
ภาคตะวันออก
1
ชลบุรี (1)
ภาคเหนือ
1
เชียงราย ยูไนเต็ด (1)
ภาคใต้
-
ภาคตะวันตก
-
รวม
25

แยกตามจังหวัด

[แก้]
จังหวัด ครั้ง สโมสร
กรุงเทพ
10
บีอีซี เทโรศาสน (2), ธ.กรุงไทย (2), ทหารอากาศ (2), ธ.กรุงเทพ (1), ม.กรุงเทพ (1), พนักงานยาสูบ (1), สินธนา (1)
บุรีรัมย์
9
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (9)
นนทบุรี
4
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด (4)
อยุธยา
1
การไฟฟ้าฯ (1)
ชลบุรี
1
ชลบุรี (1)
เชียงราย
1
เชียงราย ยูไนเต็ด (1)
ปทุมธานี
1
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (1)

อ้างอิง

[แก้]
  1. http://www.thailandsusu.com/webboard/index.php?topic=64633.10;wap2 เก็บถาวร 2021-09-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สำหรับคนที่ไม่รู้จักบอลถ้วยพระราชทาน ก ข ค ง นั้น ก็อย่ามาดูบอลไทยเลย ... - ไทยแลนด์สู้ๆ

ดูเพิ่ม

[แก้]