ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์คอนคาแคฟ
ผู้จัด | คอนคาแคฟ |
---|---|
ก่อตั้ง | 1991[1] |
ภูมิภาค | อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และ แคริบเบียน |
จำนวนทีม | 8 (รอบสุดท้าย) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | สหรัฐ (ครั้งที่ 9) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | สหรัฐ (9 ครั้ง) |
เว็บไซต์ | CONCACAF Official |
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์คอนคาแคฟ 2022 |
การแข่งขันฟุตบอลหญิงชิงแชมป์คอนคาแคฟ (อังกฤษ: CONCACAF W Championship, เดิมชื่อ CONCACAF Women's Championship', CONCACAF Women's Invitational Tournament, CONCACAF Women's Gold Cup และ CONCACAF Women's World Cup Qualifying) เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงที่จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (CONCACAF) และเป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกหญิงของฟีฟ่าและโอลิมปิกด้วย[2][3] ในปีที่การแข่งขันจัดขึ้นไม่ตรงกับปีที่มีการแข่งขันรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกหญิง จะเชิญประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกคอนคาแคฟให้เข้าร่วมแข่งขันด้วย โดยคอนคาแคฟเป็นหน่วยงานกำกับดูแลฟุตบอลสำหรับอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และ แคริบเบียน
ประเทศที่ประสบความสำเร็จในรายการนี้มากที่สุดคือ สหรัฐ ซึ่งชนะเลิศสมัยที่ 9 ในปี ค.ศ. 2022[4]
สถิติทีมทั้งหมด
[แก้]ในการจัดอันดับนี้ หากชนะจะได้ 3 คะแนน, เสมอได้ 1 คะแนน และแพ้ได้ 0 คะแนน ตามธรรมเนียมการบันทึกสถิติในกีฬาฟุตบอล การแข่งขันที่ตัดสินในการต่อเวลาพิเศษ จะถูกนับเป็นการชนะและแพ้ ในขณะที่การแข่งขันที่ตัดสินโดยการยิงจุดโทษ นับเป็นการเสมอ ทีมต่าง ๆ จะถูกจัดอันดับตามคะแนนรวม จากนั้นจัดตามผลต่างประตูได้เสีย จากนั้นจัดตามประตูที่ทำได้[5]
- ณ วันที่ ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์คอนคาแคฟ 2022
อันดับ | ทีม | จำนวนครั้ง | จำนวนนัด | W | D | L | GF | GA | ผลต่าง | คะแนน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ | 10 | 44 | 42 | 1 | 1 | 212 | 6 | 206 | 127 |
2 | แคนาดา | 10 | 44 | 33 | 1 | 10 | 191 | 33 | 158 | 100 |
3 | เม็กซิโก | 10 | 39 | 18 | 2 | 19 | 94 | 85 | 9 | 56 |
4 | คอสตาริกา | 8 | 34 | 15 | 1 | 18 | 53 | 80 | −27 | 46 |
5 | ตรินิแดดและโตเบโก | 11 | 40 | 13 | 2 | 25 | 44 | 138 | −94 | 41 |
6 | จาเมกา | 7 | 25 | 7 | 1 | 16 | 32 | 77 | −45 | 22 |
7 | เฮติ | 6 | 20 | 6 | 0 | 14 | 18 | 66 | −48 | 18 |
8 | ปานามา | 4 | 12 | 4 | 1 | 7 | 13 | 36 | −23 | 13 |
9 | จีน 1 | 1 | 5 | 4 | 0 | 1 | 24 | 6 | 18 | 12 |
10 | บราซิล 1 | 1 | 5 | 3 | 1 | 1 | 22 | 3 | 19 | 10 |
11 | กัวเตมาลา | 4 | 14 | 2 | 0 | 12 | 11 | 68 | −57 | 6 |
12 | นิวซีแลนด์ 1 | 1 | 3 | 1 | 1 | 1 | 7 | 3 | 4 | 4 |
13 | มาร์ตีนิก | 3 | 9 | 0 | 2 | 7 | 12 | 59 | −47 | 2 |
14 | กายอานา | 1 | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 19 | −16 | 0 |
15 | คิวบา | 1 | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 29 | –29 | 0 |
16 | ปวยร์โตรีโก | 1 | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 38 | −38 | 0 |
1 ผู้ได้รับเชิญที่ไม่ใช่คอนคาแคฟ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "2007 CONCACAF Gold Cup – Technical Report" (PDF). CONCACAF. 12 November 2007. p. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 November 2016. สืบค้นเมื่อ 28 November 2016.
- ↑ "Concacaf to launch revamped W Championship and new W Gold Cup". CONCACAF. 19 August 2021. สืบค้นเมื่อ 19 August 2021.
- ↑ Carlisle, Jeff (19 August 2021). "CONCACAF revamps women's qualifying for 2023 World Cup and 2024 Olympics". ESPN. สืบค้นเมื่อ 28 October 2021.
- ↑ Das, Andrew (July 19, 2022). "U.S. Women Beat Canada to Claim Spot in Paris Olympics". The New York Times. สืบค้นเมื่อ July 19, 2022.
- ↑ "All-Time Ranking CONCACAF Women's Gold Cup 1991-2014". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 10 September 2021.