ข้ามไปเนื้อหา

พิชัย ชุณหวชิร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พิชัย ชุณหวชิร
พิชัย ใน พ.ศ. 2559
เริ่มดำรงตำแหน่ง
27 เมษายน พ.ศ. 2567
(0 ปี 256 วัน)
ดำรงตำแหน่งร่วมกับ
ภูมิธรรม เวชยชัย (2567–ปัจจุบัน)
สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (2567–ปัจจุบัน)
อนุทิน ชาญวีรกูล (2567–ปัจจุบัน)
พัชรวาท วงษ์สุวรรณ (2567)
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (2567–ปัจจุบัน)
ประเสริฐ จันทรรวงทอง (2567–ปัจจุบัน)
นายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร
ก่อนหน้าภูมิธรรม เวชยชัย
สมศักดิ์ เทพสุทิน
ปานปรีย์ พหิทธานุกร
อนุทิน ชาญวีรกูล
พัชรวาท วงษ์สุวรรณ
พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
เริ่มดำรงตำแหน่ง
27 เมษายน พ.ศ. 2567
(0 ปี 256 วัน)
นายกรัฐมนตรีแพทองธาร ชินวัตร
รัฐมนตรีช่วยจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
เผ่าภูมิ โรจนสกุล
ก่อนหน้าเศรษฐา ทวีสิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (75 ปี)
อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร ประเทศไทย
พรรคการเมืองเพื่อไทย (2567–ปัจจุบัน)
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยอินเดียน่าแห่งเพนซิลเวเนีย
อาชีพ
  • นักธุรกิจ
  • นักการเมือง
ลายมือชื่อ

พิชัย ชุณหวชิร ป.ม. จ.ช. (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492) ชื่อเล่น แบงค์ เป็นนักธุรกิจและนักการเมืองไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาล แพทองธาร ชินวัตร

ประวัติ

[แก้]

พิชัย ชุณหวชิร มีชื่อเล่นว่า "แบงค์" จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบปริญญาโท บริหารธุรกิจจาก Indiana University of Pennsylvania สหรัฐ

การทำงาน

[แก้]

งานการเมือง

[แก้]

ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี

[แก้]

วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566 เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ลงนามในคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ พิชัย ชุณหวชิร ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี[2]

รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

[แก้]

ต่อมาเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2567 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้พิชัยเป็นรองนายกรัฐมนตรี แทนปานปรีย์ พหิทธานุกร ที่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเพียงตำแหน่งเดียว และพิชัยยังควบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แทนเศรษฐา ทวีสิน ที่ไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียงตำแหน่งเดียว[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. T, GIFT (2024-04-28). "ประวัติ นายพิชัย ชุณหวชิร รองนายกฯ และรมว.คลัง คนใหม่". Thaiger ข่าวไทย.
  2. เปิดตัว 9 ที่ปรึกษา “นายกฯ เศรษฐา” เน้นผู้เชี่ยวชาญ-ชำนาญเฉพาะทาง
  3. "โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ครม. "เศรษฐา 1/1"". บีบีซีไทย. 28 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๒๒ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๘๙, ๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๙๙, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๙
ก่อนหน้า พิชัย ชุณหวชิร ถัดไป
ปานปรีย์ พหิทธานุกร
รองนายกรัฐมนตรี
(ครม. 63)

(27 เมษายน พ.ศ. 2567 – ปัจจุบัน)
อยู่ในวาระ
เศรษฐา ทวีสิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(ครม. 63)

(27 เมษายน พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน)
อยู่ในวาระ