พรรคเพื่อเสรีภาพ
พรรคเพื่อเสรีภาพ Partij voor de Vrijheid | |
---|---|
หัวหน้าพรรค | เคร์ต วิลเดิร์ส |
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฏร | เคร์ต วิลเดิร์ส |
ผู้นำในวุฒิสภา | มาร์โยไลน์ ฟาเบอร์ |
ผู้นำในรัฐสภายุโรป | มาร์เซ็ล เดอ คราฟฟ์ |
ก่อตั้ง | 22 กุมภาพันธ์ 2006[1] |
แยกจาก | พรรคประชาชนเพื่อเสรีภาพและประชาธิปไตย |
ที่ทำการ | บินเนินโฮฟ เดอะเฮก[2] |
สมาชิกภาพ | 1 คน (with parliamentary representatives)[1][3][4] |
อุดมการณ์ | ชาตินิยม[5][6] เสรีชาตินิยม[7] ประชานิยมฝ่ายขวา[5][8][9] ต่อต้านอิสลาม[5][10][11] ต่อต้านผู้อพยพ[5][11] ต่อต้านสหภาพยุโรป[5][11] |
จุดยืน | ขวา[12][13] ถึง ขวาจัด[6][14][15][16][17][18][19] |
สี | แดง ขาว น้ำเงิน (ธงชาติเนเธอร์แลนด์) |
สภาผู้แทนราษฏร | 20 / 150 |
วุฒิสภา | 5 / 75 |
สภาจังหวัด | 41 / 570 |
รัฐสภายุโรป | 1 / 29 |
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์ | 0 / 12 |
เว็บไซต์ | |
www | |
การเมืองเนเธอร์แลนด์ รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
พรรคเพื่อเสรีภาพ (ดัตช์: Partij voor de Vrijheid หรือย่อเป็น PVV) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายชาตินิยมขวาจัดในประเทศเนเธอร์แลนด์[5] ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2006 โดยเคร์ต วิลเดิร์ส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และคว้าได้ 9 ที่นั่งในสภาเมื่อการเลือกตั้ง ค.ศ. 2006 ก่อนจะได้มา 24 ที่นั่งในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ ค.ศ. 2010 จึงได้ตอบรับคำเชิญของนายกรัฐมนตรีมาร์ก รึตเตอในการจัดตั้งรัฐบาล อย่างไรก็ตาม พรรคเพื่อเสรีภาพไม่เห็นด้วยกับมาตรการรัดเข็มขัดของรัฐบาลจึงได้ถอนตัวออกจากแนวร่วมรัฐบาลเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2012 นำไปสู่การเลือกตั้งอีกครั้งในปีเดียวกัน โดยพรรคเพื่อเสรีภาพได้มาเพียง 15 ที่นั่ง และได้เข้าร่วมกับฝ่ายค้าน ต่อมาในการเลือกตั้ง ค.ศ. 2017 พรรคเสรีภาพได้ที่นั่ง 20 ที่นั่ง โดยได้คะแนนเสียงเป็นอันดับสอง แต่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมของมาร์ก รึตเตอเนื่องจากอุดมการณ์ทางการเมืองที่ต่างกับพรรคร่วมรัฐบาลพรรคอื่น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Partij voor de Vrijheid (PVV)" (in Dutch), Parlement & Politiek. Retrieved 5 March 2017.
- ↑ "Contact" (ภาษาดัตช์). Party for Freedom. สืบค้นเมื่อ 7 May 2018.
- ↑ "Favorita en de duistere financiering van partijen" (in Dutch), de Volkskrant, 2008. Retrieved 20 February 2017.
- ↑ "Ondemocratische PVV" (in Dutch), NRC Handelsblad, 2010. Retrieved 20 February 2017.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 Pauwels, Teun (2014). Populism in Western Europe: Comparing Belgium, Germany and The Netherlands. Routledge. pp. 117–118. ISBN 9781317653912.
- ↑ 6.0 6.1 "Partij voor de Vrijheid (PVV) — Europe Politique". www.europe-politique.eu. สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.
- ↑ Moreau, Patrick. The Victorious Parties - Unity in Diversity?. The Extreme Right in Europe: Current Trends and Perspectives. Vandenhoeck & Ruprecht. p. 106.
- ↑ Merijn Oudenampsen (2013). "Explaining the Swing to the Right: The Dutch Debate on the Rise of Right-Wing Populism". In Ruth Wodak, Majid KhosraviNik, Brigitte Mral. Right-Wing Populism in Europe: Politics and Discourse. A&C Black. p. 191.
- ↑ Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
- ↑ Subramanian, Samanth (9 March 2017). "Could the anti-Islam Party for Freedom come out on top in upcoming Netherlands election?". The National. สืบค้นเมื่อ 16 April 2017.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 Thompson, Wayne C. (2014). Western Europe 2014. Rowman & Littlefield. p. 185. ISBN 9781475812305.
- ↑ Rita C-K Chin (2009). After the Nazi racial state: difference and democracy in Germany and Europe. University of Michigan Press. p. 239.
- ↑ Are Dutch voters really turning to populist Geert Wilders?
- ↑ verslaggevers, Van onze (10 December 2008). "'PVV is extreem-rechts'". Trouw. สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.
- ↑ https://www.rug.nl/research/portal/files/20875483/JB07LucardieDEF_1_.pdf
- ↑ Kleinpaste, Thijs. "The New Face of the Dutch Far-Right". สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.
- ↑ "Geert Wilders, 'Dutch Donald Trump,' Takes Second Place In Closely Watched Election". NPR.org. สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.
- ↑ Meeus, Tom-Jan (22 October 2018). "Mark Rutte's leaden touch". POLITICO. สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.
- ↑ Daugherty, Owen (6 February 2019). "Far-right former Dutch lawmaker who said the Quran is 'poison' converts to Islam". TheHill. สืบค้นเมื่อ 13 August 2019.