ข้ามไปเนื้อหา

ปฏิบัติการขวานรบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิบัติการขวานรบ
ส่วนหนึ่งของ การทัพทะเลทรายตะวันตกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารจากกองพลอินเดียที่ 4 กำลังเขียนชื่อด้านข้างของรถบรรทุกว่า "Khyber Pass ถึง Hell-Fire Pass".
วันที่15-17 มิถุนายน ค.ศ. 1941
สถานที่31°30′13″N 25°06′54″E / 31.50361°N 25.11500°E / 31.50361; 25.11500
ผล ฝ่ายอักษะชนะ
คู่สงคราม

 สหราชอาณาจักร

 Germany
 Italy
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร Archibald Wavell
สหราชอาณาจักร Noel Beresford-Peirse
ราชอาณาจักรอิตาลี Italo Gariboldi
นาซีเยอรมนี แอร์วีน ร็อมเมิล
กำลัง
25,000 men[1]
90 cruisers and ป. 100 'I' tanks"[2]
98 fighters[3]
105 bombers[3]
8th Panzer Regiment began with ป. 100 tanks, about 50 being gun tanks; 5th Panzer Regiment had 96 tanks (57 gun tanks).[2]
130 fighters[3]
84 bombers[a]
ความสูญเสีย
969 casualties[b]
91[c]-98 tanks[d]
36 aircraft[e]
1,270 casualties[f]
12 tanks[g]
10 aircraft[2]
แม่แบบ:Campaignbox Western Desert

ปฏิบัติการขวานรบ(15-17 มิถุนายน ค.ศ. 1941) เป็นการรุกของกองทัพบริติชในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อคลายวงล้อมทูบลักและยึดไซเรไนกาตะวันออกกลับคืนมาจากกองทัพเยอรมันและอิตาลี มันเป็นครั้งแรกในช่วงสงครามที่กองทัพเยอรมันต่อสู้กับฝ่ายป้องกันอย่างมีนัยสำคัญ ฝ่ายบริติชสูญเสียรถถังไปกว่าครึ่งในวันแรกและมีเพียงหนึ่งในสามของการโจมตีที่ประสบความสำเร็จ

บริติชได้บรรลุผลลัพธ์ที่ยุ่งเหยิงในวันที่สอง ได้ถูกผลักดันกลับไปยังปีกตะวันตกและถูกขับไล่ด้วยการโจมตีตอบโต้กลับขนาดใหญ่ของเยอรมันในส่วนกลาง ในวันที่สาม บริติชได้หลีกเลี่ยงหายนะอย่างเฉียดฉิวโดยการถอนกำลังออกจากพื้นที่ไป ก่อนที่เยอรมันจะทำการโอบล้อม ด้วยความล้มเหลวของขวานรบนำไปสู่การรับตำแหน่งหน้าที่แทนนายพลบริติช เซอร์ Archibald Wavell, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในตะวันออกกลางโดย Claude Auchinleck Wavell ได้รับตำแหน่งหน้าที่ของ Auchinleck คือ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในอินเดีย

อ้างอิง

[แก้]
  1. Churchill (1986), p. 305
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair171
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Playfair, p. 166
  4. Jentz, 186
  5. Jentz, p. 186
  1. 59 serviceable German bombers and dive bombers, and 25 serviceable Italian bombers.[3]
  2. 122 killed, 588 wounded and 259 missing[2]
  3. 27 Cruiser and 64 infantry tanks were lost due to breakdown or enemy action and were abandoned.[2]
  4. Left behind on the battlefield: 4th RTR: 30 Infantry tanks Mk II, 1 Light tank Mk VIc; 7th RTR: 35 Infantry tanks Mk II, 1 Cruiser Mk I , 2 light tanks Mk VIc; 2nd RTR: 12 cruisers; 6th RTR: 16 Cruiser Mk VI; 7th Armoured Brigade HQ: 1 Cruiser Mk II.[4]
  5. 33 fighters, 3 bombers[2]
  6. 93 Germans killed, 350 wounded and 235 missing. Italian casualties: 592 ; the British claimed 350 Italian prisoners but had to release them during their withdrawal.[2]
  7. 5th Panzer Regiment lost 4 tanks destroyed (2 Panzer II and 2 Panzer III) and 8th Panzer Regiment lost 8 tanks destroyed (3 Panzer II, 4 Panzer III and 1 Panzer IV).[2][5]