ข้ามไปเนื้อหา

จริยา แอนโฟเน่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จริยา แอนโฟเน่
ชื่อเกิดจริยา สรณคมน์
เกิด21 ธันวาคม พ.ศ. 2508 (58 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
คู่สมรสจอนนี่ แอนโฟเน่ (สมรส 2536)
บุตร3 คน
อาชีพ
  • นักแสดง
  • นักร้อง
  • ผู้จัดละคร
ปีที่แสดงพ.ศ. 2528–ปัจจุบัน
ผลงานเด่นม่านแก้ว/ราชาวดี/อันตราแต่ปางก่อน (2530)
ดาวเรือง​ดาวเรือง (2530)
กะรัต (กั้ง)สามีตีตรา (2531)
มุนินทร์ / มุตตา (ฝาแฝด)แรงหึง (2531)
ฐานมาศ (ส้วม)เขาวานให้หนูเป็นสายลับ (2534)
จีราวัจน์ (จี)คลื่นชีวิต (2537)
คุณสนอาญารัก (2543)
วรรณนรีน้ำเซาะทราย (2544)
ไหมดงดอกเหมย (2546)
เครือมาศบัวปริ่มน้ำ (2549)
โรสน้ำผึ้งขม (2552)
เม่งฮวย (คุณนายที่ 1)มงกุฎดอกส้ม (2553)
เม่งฮวย (คุณนายที่ 1)ดอกส้มสีทอง (2554)
สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (2542–ปัจจุบัน)
รางวัล
พระสุรัสวดีดาวร้ายหญิงยอดเยี่ยม
พ.ศ. 2529 – เมียแต่ง
โทรทัศน์ทองคำนักแสดงนำหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2541 – บ่วงดวงใจ
พ.ศ. 2546 – ดงดอกเหมย
นักแสดงสนับสนุนหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2550 – มณีดิน
เมขลานักแสดงนำหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2541 – ซอยปรารถนา 2500
นักแสดงสมทบหญิงดีเด่น
พ.ศ. 2543 – อาญารัก
พิฆเนศวรผู้อยู่เบื้องหลังวงการโทรทัศน์ดีเด่น
พ.ศ. 2559

จริยา แอนโฟเน

(สกุลเดิม: สรณคมน์; เกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2508) ชื่อเล่น นก เป็นนักแสดง นักร้อง และผู้จัดละครชาวไทย สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

ประวัติ

[แก้]

จริยา แอนโฟเน่ ชื่อเล่น นก หรือ จริยา สรณคมน์ มีชื่อจริงคือ จริยา องค์สรณะคม เป็นบุตรีของ อมรศักดิ์ องค์สรณะคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต มีพี่น้อง 3 คน เป็นคนโต เข้าเรียนชั้นอนุบาลถึงประถม 1 ที่โรงเรียนสวนบัว (ซอยราชครู) ชั้นประถม 2-6 โรงเรียนบ้านบางกะปิ จากนั้นเรียนมัธยม 1-3 โรงเรียนสตรีภูเก็ต และจบปวช. โรงเรียนกิตติพาณิชย์

หลังจากได้สมัครเป็นนักเรียนการแสดงช่อง 3 ต่อมามยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช ได้ชวนให้ไปเทสต์หน้ากล้อง[1] และผ่านการทดสอบ มีผลงานเรื่องแรกคือ สายรุ้ง รับบทเป็นตัวประกอบ ต่อมาแสดงเรื่อง เบญจรงค์ห้าสี โดยแสดงร่วมกับธงไชย แมคอินไตย์ จากนั้นเป็นนางเอกเรื่องแรกใน สนิมน้ำค้าง และมาสร้างชื่อจากละครเรื่อง แต่ปางก่อน

อีกทั้งยังเคยมีผลงานเพลงกับค่าย เอสพี ศุภมิตรชื่ออัลบั้ม บิน มีเพลงที่โด่งดังคือ น้อยใจ นอกจากนี้ยังมีงานโฆษณา เช่น ยีนส์ Calvin Klein, กรีนสปอต, แชมพูซันซิล และอีกมากมาย

ชีวิตส่วนตัวแต่งงานกับ จอนนี่ แอนโฟเน่ เมื่อ กุมภาพันธ์ 2536 มีลูก 3 คน คือ เจมส์-จิรายุ แอนโฟเน่, เจมี่-จอมภัค และ จีนส์-จิรชยา[2]

ปัจจุบันเป็นผู้จัดละครของค่าย "เมกเกอร์ เจ" มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ฉันไม่รอวันนั้น เจ้าสาวกลัวฝน คุณแม่รับฝาก ตุ๊กตาโรงงาน

ผลงาน

[แก้]

ภาพยนตร์

[แก้]
  • พ.ศ. 2529 เมียแต่ง
  • พ.ศ. 2529 ข่าวหน้า 1
  • พ.ศ. 2529 ร.ด. เรียนดี รักดี
  • พ.ศ. 2530 ไฟเสน่หา
  • พ.ศ. 2530 เพชรเสี้ยนทอง
  • พ.ศ. 2530 แรงปรารถนา
  • พ.ศ. 2532 เสน่หา
  • พ.ศ. 2532 รักคืนเรือน
  • พ.ศ. 2532 คนทรงเจ้า

ละครโทรทัศน์

[แก้]
พ.ศ. เรื่อง รับบท ออกอากาศ
2528 สายรุ้ง วัลลภา ช่อง 3
เบญจรงค์ห้าสี เมธ์วดี (เม้ย)
สนิมน้ำค้าง นิศาชล
2529 ชายสามโบสถ์ รื่น
พระจันทร์แดง กาหลง
เคหาสน์ภูติ เจ้าระริน
กามนิต วาสิฏฐี วิสิฏฐี
2530 หัวใจใยแพร วีณา
แต่ปางก่อน เจ้านางม่านแก้ว (เจ้านางน้อย) / ราชาวดี ปชาธร (ฟ้า) / อันตรา โพสพาณิชย์ (แอน)
ดาวเรือง ดาวเรือง (เรือง)
ไฟเสน่หา เกลียวเกศ
อวสานเซลส์เมน อุไร
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช น้ำฝน
ฟ้าต่ำ พีรดา (พี)
ตะวันขึ้นที่อ่าวพังงา ปรางวไล ช่อง 5
2531 สามีตีตรา กะรัต (กั้ง) ช่อง 3
ผัวรสมะนาว วินดา
แรงหึง มุนินทร์ / มุตตา(รับบทฝาแฝด)
เกมกามเทพ มานิกา
เจ้าสาวของอานนท์ สุชาดา สุทธากุล
สงครามเก้าทัพ ท้าวศรีสุนทร (คุณหญิงมุก)
2532 แม่ผัวตัวแสบ ทิพย์
แก้วตาพี่ นาถลดา (ลดา)
2533 หลายชีวิต ตอน พรรณี พรรณี
วิมานไฟ โรยทอง วรทิพย์ (น้อย)
แม่ลาวเลือด ลำเพา สายสัททุล
วงศาคณาญาติ พามิลา (พริม)
ทับนางรอ โสภี
2534 บ้านสาวโสด พิมพ์พิกา / สมศรี
เขาวานให้หนูเป็นสายลับ ฐานมาศ มูลใจ (ส้วม)
2535 ฝ้ายแกมแพร จารวี
ชื่นชีวานาวี พีชนิกา (คุณหนูอี๊ด)
2537 สิ้นสวาท มินตรา
2537 คลื่นชีวิต จีราวัจน์ สุริยารัตน์ (จี)
นางฟ้าหลงทาง เลอลักษมี (เดือน)
เพลิงรักเพลิงแค้น อุรวี (วี)
2539 ฟากฟ้า ทะเลฝัน อิงฟ้า
2540 บ่วงดวงใจ อนงค์
2541 เลื่อมสลับลาย พาไล (ไพล)
ซอยปรารถนา ๒๕๐๐ กัลยาณี (เดือน) ช่อง 7
2542 รัก…สุดหัวใจ นาตาลี ช่อง 3
2543 อาญารัก คุณสน
2544 น้ำเซาะทราย วรรณนรี ประการพันธ์
2546 ดงดอกเหมย ไหม
2547 เลิฟสตอเบอร์รี่ แม่เลี้ยงวันเพ็ญ ลีวานิช
ริษยา อบสวาท
2548 สำเภาทอง นุชรี
โสดสโมสร ตอน กว่าจะถึงเส้นแพ้ บุษรังสี
2549 บัวปริ่มน้ำ เครือมาศ วรเศรษฐเมธี
2550 มณีดิน ปราย
2552 ดงผู้ดี แขนภา นิติการ
น้ำผึ้งขม โรส
2553 รุ้งร้าว กรองกาญจน์
เงารักลวงใจ รัญญา อัศวธานนท์
มงกุฎดอกส้ม เม่งฮวย (คุณนายที่ 1)
2554 ดอกส้มสีทอง เม่งฮวย (คุณนายที่ 1)
กลรักลวงใจ คุณหญิงรมณีย์
2555 รักเกิดในตลาดสด กิมฮวย
2556 คุณชายธราธร หม่อมช้องนาง จุฑาเทพ ณ อยุธยา
คุณชายรณพีร์ หม่อมช้องนาง จุฑาเทพ ณ อยุธยา
The Sixth Sense สื่อรักสัมผัสหัวใจ ภาค 2 มิรันตี
สามี หม่อมรัตนาวลี
2557 สามีตีตรา พวงหยก เทพทัต
2562 เขาวานให้หนูเป็นสายลับ บุญยืน
2563 ร้อยเล่ห์มารยา สิรี
2564 สุกี้ยากี้ วีณา (ฉายออนไลน์)
บ้านก้านมะยม ล้อมเพชร (ฉายออนไลน์)
2565 ลายกินรี คุณหญิงแสร์
มัดหัวใจยัยซุปตาร์ นันทพร
2566 หมอหลวง แม่เทียบ
ใต้เงาตะวัน แม่ของกานต์และกรณ์ (รับเชิญ)
2567 เรือนทาส คุณหญิงแขไข
ลมเล่นไฟ คุณหญิงมณียา

ละครเวที

[แก้]
  • สุดสายปลายรุ้ง

มิวสิกวิดีโอ

[แก้]

โฆษณา

[แก้]
  • แชมพู ซันซิล
  • ผ้าอนามัย โมเดส
  • เป๊ปซี่
  • โค้ก
  • CALVIN KLEIN
  • ลูกอม เมนทอส
  • แพนทีน Pro-V
  • Garnier Age Life Eye

ผลงานดูแลการดำเนินงานละครโทรทัศน์

[แก้]
ปี เรื่อง ช่อง
2543 รอยมาร 3
2544 ฉันไม่รอวันนั้น 3
2547 เจ้าสาวกลัวฝน 3
คุณแม่รับฝาก 3
2548 ตุ๊กตาโรงงาน 3
รักละมุนลุ้นละไม 3
2549 เรือนนารีสีชมพู 3
2550 มณีดิน 3
2551 ชมพู่แก้มแหม่ม 3
2552 จำเลยกามเทพ 3
2553 365 วันแห่งรัก 3
2554 เมียแต่ง 3
2555 แม่ยายที่รัก 3
คุณสามี(กำมะลอ)ที่รัก 3
2556 สามี 3
2557 ลูกสาวพ่อมด 3
รักต้องอุ้ม 3
2558 ไฟล้างไฟ 3HD
2559 เลือดรักทระนง 3HD
2560 เหมือนคนละฟากฟ้า 3HD
รักหลงโรง 3HD
2561 ปี่แก้วนางหงส์ 3HD
2562 ซีรีส์ลูกผู้ชาย ตอน เพชร 3HD
2563 ร้อยเล่ห์มารยา 3HD
2565 สร้อยสะบันงา 3HD
2566 ใต้เงาตะวัน 3HD
2567 ลมเล่นไฟ 3HD
2568 เพลงพยัคฆ์ 3HD


ผลงานเพลง

[แก้]

ชุด บิน ค่ายเอสพี ศุภมิตร

  1. เดิมเดิม
  2. ทุ่มเท
  3. ลืมเลย
  4. ครึ่ง ครึ่ง
  5. ดีกว่า
  6. น้อยใจ
  7. ลงตัว
  8. แค่นี้
  9. ปลายฟ้า
  10. เคยมี

เพลงประกอบละคร

[แก้]
  • แรงหึง เพลงประกอบละครแรงหึง 2531
  • นี่แหละคน เพลงประกอบละครแม่ผัวตัวแสบ 2532
  • วิมานไฟ เพลงประกอบละครวิมานไฟ 2533
  • น่านน้ำนาวี เพลงประกอบละครชื่นชีวานาวี 2535
  • ชีวิตไร้สังกัด เพลงประกอบละครคลื่นชีวิต 2537

อื่นๆ

[แก้]
  • การแสดง แสง สี เสียง และ สื่อผสม วัฒนธรรมทองแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 72 พรรษา เฉลิมหล้า จอมราชันย์

รางวัล

[แก้]

รางวัลที่ได้รับ

[แก้]
  • 2529
    • รางวัลพระสุรัสวดี : ดาวร้ายหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง เมียแต่ง
  • 2541
    • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 18: ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง ซอยปรารถนา 2500
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 13: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง บ่วงดวงใจ
  • 2543
    • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 20: ผู้แสดงประกอบหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง อาญารัก
  • 2546
    • รางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ด ครั้งที่ 2: ผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
    • รางวัลผลงานบันเทิงยอดเยี่ยม : นักแสดงนำหญิงยอดนิยม จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
    • รางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 1 : นักแสดงนำหญิงยอดนิยม จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
    • รางวัลจากนิตยสาร HAMBURGER: นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 18: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
  • 2550
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 22: ดาราสนับสนุนหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง มณีดิน
  • 2555
    • รางวัลไนน์เอนเตอร์เทนอวอร์ด ครั้งที่ 5: นักแสดงหญิงแห่งปี จากละครเรื่อง มงกุฎดอกส้ม, ดอกส้มสีทอง และกลรักลวงใจ
  • 2559
    • รางวัลพระพิฒเนศวร :รางวัลผู้อยู่เบื้องหลังวงการโทรทัศน์ดีเด่น จริยา แอนโฟเน่ บริษัท เมกเกอร์ เจ จำกัด

รางวัลที่เข้าชิง

[แก้]
  • 2530
    • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 7: ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง แต่ปางก่อน
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำครั้งที่ 2: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง แต่ปางก่อน
  • 2531
    • รางวัลเมขลา ครั้งที่ 8: ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง สามีตีตรา
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 3: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง สามีตีตรา
  • 2533
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 5: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง แม่ลาวเลือด
  • 2537
  • 2543
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำครั้งที่ 15: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง อาญารัก
    • รางวัลท็อปอวอร์ด ครั้งที่ 1: ดาราสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากละครเรื่อง อาญารัก
  • 2546
    • รางวัลคมชัดลึกอวอร์ด ครั้งที่ 1: นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ จากละครเรื่อง ดงดอกเหมย
  • 2547
    • รางวัลโทรทัศน์ทองคำครั้งที่ 19: ดารานำหญิงดีเด่น จากละครเรื่อง ริษยา
    • รางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 2: นักแสดงสมทบหญิงทางโทรทัศน์ยอดเยี่ยม จากละครเรื่อง ริษยา
  • 2549
    • รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4: นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ จากละครเรื่อง สำเภาทอง
  • 2550
    • รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 5: นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ จากละครเรื่อง มณีดิน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "เล่าเรื่องเก่าก็หาว่าแก่ 'นก จริยา' โชว์หน้าพิสูจน์ บอกแค่คิดถึงอดีตว่าผ่านอะไรมาและมีค่าแค่ไหน". มติชน.
  2. ""แม่นก จริยา" ควงคู่ลูกสาวคนสวย "จีนส์ จิรชยา" เผยท็อปซีเคร็ตฉบับแม่ลูกสุดซี้". แพรว.