การเทียบยศทหารและยศอื่นของนาซีเยอรมนี
หน้าตา
ตารางเทียบยศทหาร กำลังกึ่งทหาร และยศสมาชิกพรรคนาซี ซึ่งใช้ระหว่างปี 1933 ถึง 1945[1]
ตารางเปรียบเทียบยศทหารและยศอื่น
[แก้]แวร์มัคท์ (Wehrmacht) | ชุทซ์ชตัฟเฟิล (SS) | ชตวร์มอัพไทลุง (SA) | พรรคกรรมกร ชาติสังคมนิยมเยอรมัน | ||
ทหารบก, ทหารอากาศ | ทหารเรือ | วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส | อัลเกอไมเนอ เอ็สเอ็ส | ||
„ฟือเรอร์“ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ | |||||
---|---|---|---|---|---|
จอมพลไรช์ (Reichsmarschall) [2] |
– | – | – | – | |
จอมพล (Generalfeldmarschall) |
จอมพลเรือ (Großadmiral) |
ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส (Reichsführer-SS) |
เสนาธิการเอ็สอา[3] (Chef des Stabes der SA) |
ไรชส์ไลเทอร์ (Reichsleiter) | |
พลเอกอาวุโส (Generaloberst) |
พลเรือเอกอาวุโส (Generaladmiral) |
นายกลุ่มใหญ่และพลเอกอาวุโสแห่งวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส[4] | นายกลุ่มใหญ่ (SS-Oberst-Gruppenführer) |
– | โอเบอร์ไอน์ซัทซ์ไลเทอร์ (Obereinsatzleiter) |
พลเอกทหาร... (General der...) |
พลเรือเอก (Admiral) |
นายกลุ่มเอกและพลเอกแห่งวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส | นายกลุ่มเอก (SS-Obergruppenführer) |
นายกลุ่มเอก (SA-Obergruppenführer) |
เฮาป์เบเฟลส์ไลเทอร์ (Hauptbefehlsleiter) |
พลโท (Generalleutnant) |
พลเรือโท (Vizeadmiral) |
นายกลุ่มโทและพลโทแห่งวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส | นายกลุ่มโท (SS-Gruppenführer) |
นายกลุ่มโท (SA-Gruppenführer) |
โอเบอร์เบเฟลส์ไลเทอร์ (Oberbefehlsleiter) |
พลตรี (Generalmajor) |
พลเรือตรี (Konteradmiral) |
นายกลุ่มตรีและและพลตรีแห่งวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส | นายกลุ่มตรี (SS-Brigadeführer) |
นายกลุ่มตรี (SA-Brigadeführer) |
เบเฟลส์ไลเทอร์ (Befehlsleiter) |
พันเอก (Oberst) |
นาวาเอกพิเศษ (Kommodore) |
นายกองเอกพิเศษ (SS-Oberführer)[5] |
นายกองเอกพิเศษ (SA-Oberführer) |
Hauptdienstleiter | |
Oberdienstleiter | |||||
นาวาเอก (Kapitän zur See) |
นายกองเอก (SS-Standartenführer) |
– | Dienstleiter | ||
นายกองเอก (SA-Standartenführer) |
Hauptbereichsleiter | ||||
พันโท (Oberstleutnant) |
นาวาโท (Fregattenkapitän) |
นายกองโท (SS-Obersturmbannführer) |
นายกองโท (SA-Obersturmbannführer) |
Oberbereichsleiter | |
- | - | Bereichsleiter | |||
พันตรี (Major) |
นาวาตรี (Korvettenkapitän) |
นายกองตรี (SS-Sturmbannführer) |
นายกองตรี (SA-Sturmbannführer) |
Hauptabschnittsleiter | |
ร้อยเอก (Hauptmann) |
เรือเอก (Kapitänleutnant) |
นายหมวดเอก (SS-Hauptsturmführer)[6] |
นายหมวดเอก (SA-Hauptsturmführer)[6] |
Haupteinsatzleiter | |
ร้อยโท (Oberleutnant) |
เรือโท (Oberleutnant zur See) |
นายหมวดโท (SS-Obersturmführer) |
นายหมวดโท (SA-Obersturmführer) |
Obereinsatzleiter | |
ร้อยตรี (Leutnant) |
เรือตรี (Leutnant zur See) |
นายหมวดตรี (SS-Untersturmführer) |
นายหมวดตรี (SA-Sturmführer) |
Einsatzleiter | |
ชั้นประทวน | |||||
|
พันจ่าเอก (Stabsoberbootsmann) |
นายหมู่ใหญ่ (SS-Sturmscharführer) |
นายดาบเอก (SA-Haupttruppführer) |
Hauptbereitschaftsleiter | |
|
|
|
นายดาบโท (SA-Obertruppführer) |
Oberbereitschaftsleiter | |
– | พันจ่าตรีพิเศษ (Stabsbootsmann) |
– | – | – | |
|
|
|
นายดาบตรี (SA-Truppführer) |
Bereitschaftsleiter | |
|
จ่าเอกพิเศษ (Obermaat) |
|
นายหมู่โท (SA-Oberscharführer) |
Hauptabteilungsleiter | |
|
|
- |
|
นายหมู่ตรี (SA-Scharführer) |
Oberabteilungsleiter |
ชั้นกองประจำการ | |||||
ไม่มีในทบ.และทอ.[7][8] | จ่าโทพิเศษกองประจำการ (Matrosenoberstabsgefreiter) |
– | – | – | |
สิบโทกองประจำการ (Stabsgefreiter) (Heer)[7][8] |
จ่าโทกองประจำการ (Matrosenstabsgefreiter) |
– | – | – | |
สิบตรีพิเศษกองประจำการ (Hauptgefreiter) มีแค่ในทอ.[7][8] |
จ่าตรีพิเศษกองประจำการ (Matrosenhauptgefreiter) | – | – | – | |
สิบตรีกองประจำการ (Obergefreiter) |
จ่าตรีกองประจำการ (Matrosenobergefreiter) |
นายชุด (SS-Rottenführer) |
นายชุด (SA-Rottenführer) |
ผู้ช่วยงานชำนาญการ (Oberhelfer) | |
สิบจัตวากองประจำการ (Gefreiter) |
จ่าจัตวากองประจำการ (Matrosengefreiter) |
พลพายุ (SS-Sturmmann) |
พลพายุชำนาญการ (SA-Obersturmmann) |
ผู้ช่วยงาน (Helfer) | |
พลทหารชำนาญการ (Obersoldat) |
พลทหารเรือ (Matrose) |
พลปืนชำนาญการ (SS-Oberschütze) |
พลเอ็สเอ็ส (SS-Mann) |
พลพายุ (SA-Sturmmann) |
พรรคฯ[9]
|
พลทหาร (Soldat) |
พลปืน (SS-Schütze) |
- หมายเหตุ - ลูกหมู่ตรี ลูกหมู่โท ลูกหมู่เอก หมายถึงนักเรียนผู้อยู่ระหว่างการฝึกและยังไม่ได้ประจำการเต็มตัว หากเข้าประจำการแล้วจะได้เป็นนายหมู่
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Weiß 2002, Appendix.
- ↑ มีคนเดียวคือ แฮร์มัน เกอริง เมื่อ 1940
- ↑ Schlag nach!, Bibliographisches Institut AG., Leipzig, 1938, S. 203.
- ↑ Verordnungsblatt der Waffen-SS, 3. Jahrgang – Berlin, den 15. Juni 1942 – Nummer 12 – S. 46:
„Der Reichsführer-SS hat angeordnet, daß der neue Dienstgrad des SS-Oberst-Gruppenführer – um Verwechslungen mit dem Dienstgrad des SS-Obergruppenführers zu vermeiden – wie folgt geschrieben wird: SS-Oberst-Gruppenführer.“ Zitiert nach Klietmann in Feldgrau. 13. Jahrgang Nr. 1, Berlin 1967. - ↑ Dieser SS-Dienstgrad hatte kein Heeres-Äquivalent, vielmehr entsprach er dem eines dienstälteren Oberst, der berechtigt war, die silbergrauen Aufschläge und die Aluminium-Mützen-Paspelierung eines Generals zu tragen, indes er aber noch die Schulterstücke eines Obersts aufwies. (Quelle: Andrew Mollow: Uniformen der Waffen-SS, S. 154)
- ↑ 6.0 6.1 Dieser Dienstgrad lautete bei der SS bis zur Entmachtung der SA im Sommer 1934 Sturmhauptführer und wurde dann in Hauptsturmführer umbenannt. Eine Umbenennung in der SA wurde mit der Aufstellung der SA-Wehrmannschaften 1939/40 vorgenommen, so dass dieser Dienstgrad in allen NS-Organisationen Hauptsturmführer lautete.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 Einsatz-Wehrmachtgebührnisgesetz in der Fassung von 1. November 1944. In: Reichsgesetzlatt I, 1944, S. 296.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 Übersicht über die Dienstgrade der deutschen Wehrmacht. In: Zeitgeschichte Informationssystem. 2020-02-27.
- ↑ Organisationsbuch der NSDAP 1943 Parteigen. Polit. Leiter Uniformen Symbole, Seiten 27a.