การปฏิวัติ 17 ตุลาคม
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
การประท้วงในประเทศเลบานอน ค.ศ. 2019–2020 หรือที่เรียกกันในท้องถิ่นว่า การปฏิวัติเดือนตุลาคม (อังกฤษ: October Revolution) เป็นกลุ่มการประท้วงของพลเรือนที่เกินขึ้นในประเทศเลบานอน เริ่มแรกปะทุขึ้นหลังรัฐบาลมีการวางแผนที่จะขึ้นภาษีน้ำมัน ยาสูบ และการโทรแบบ VoIP บนแอปพลิเคชันต่าง ๆ เช่น วอตส์แอปป์[13][14][15] แต่ต่อมาได้กระจายและขยายออกไปเป็นการประท้วงทั่วประเทศเพื่อประนามการปกครองแบบนิกายนิยม (sectarian rule),[16] เศรษฐกิจที่ซบเซาอย่างหนัก, ภาวะตกงาน ที่สูงถึง 46% ในปี 2018,[17] การฉ้อโกงภายในของหน่วยงานรัฐบาล,[16] การออกกฎหมายที่มีเพื่อปกป้องชนชั้นปกครองจากการตรวจสอบได้ (เช่นการตรวจสอบบัญชี)[18][19] และความล้มเหลวของรัฐบาลที่ไม่สามารถจัดสรรบริการพื้นฐานให้ได้ เช่น ไฟฟ้า น้ำ และความสะอาด[20] การประท้วงครั้งแรกเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 2019 นับเป็นระยะเวลา 1911 วันจนถึงปัจจุบัน[21][22][23]
ผลจากการประท้วงได้ทำให้ประเทศเลบานอนเข้าสู่ภาวะวิกฤตทางการเมือง นายกรัฐมนตรีซาอัด ฮาริรียินยอมลาออกจากตำแหน่งและตอบรับคำร้องขอของผู้ประท้วงที่ต้องการรัฐบาลอิสระ[24] อย่างไรก็ตาม นักการเมืองรายอื่น ๆ ที่เป็นเป้าโจมตีของการประท้วงยังคงอยู่ในอำนาจ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 2019 อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ Hassan Diab ได้ถูกแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี และมีหน้าที่ในการจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่[25] การประท้วงและการดื้อแพ่งจึงดำเนินต่อเพื่อประท้วงการแต่งตั้งนาย Diab ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี[26][27][28] เมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 2020 นาย Hassan Diab ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการ และนำคณะรัฐมนตรีจำนวน 20 คน นับเป็นเวลาสามเดือนจากการเริ่มต้นประท้วงใหญ่ Diab ได้รับแต่งตั้งด้วยการสนับสนุนของฮิซบุลลอฮ์ รวมทั้งเครือข่าย และขบวนการ Free Patriotic Movement ซึ่งนำโดย Gebran Bassil[29]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "On Ground Activism". Kafeh.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-21. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020.
- ↑ "Political and socio-economic program regarding the uprising and the transitional phase". lcparty.org. Lebanese Communist Party. สืบค้นเมื่อ 18 June 2020.
- ↑ "لبنان ينتفض". mmfidawla.com. Citizens in a State. สืบค้นเมื่อ 29 April 2020.
- ↑ "اللبنانيون الجدد". اللبنانيون الجدد.
- ↑ Raidy, Gino. "It's Time to Talk About Sabaa". Gino's Blog. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020.
- ↑ "Nasrallah: Lebanon is facing two major menaces; the first is the financial and economic collapse and the second is the Lebanese people's rage at the political elite". MTV Lebanon (ภาษาอังกฤษ). 19 October 2019. สืบค้นเมื่อ 19 October 2019.
- ↑ K, Christie (7 November 2019). "Tripoli Will Remove All Political Posters From its City!". The961. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-28. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
- ↑ "OHCHR | Press briefing note on Lebanon".
- ↑ "عضو بلدية الشويفات علاء أبو فخر يسقط بالرصاص تحت جسر خلدة". An-Nahar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-13. สืบค้นเมื่อ 12 November 2019.
- ↑ "Anger breaks out after two die in roadblock crash". The Daily Star. 25 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-27. สืบค้นเมื่อ 26 November 2019.
- ↑ Osseiran, Hashem. "Lebanon officials vow to deter 'infiltrator' attacks after weekend violence". www.timesofisrael.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
- ↑ Saleh, Walid (27 April 2020). "Lebanon cities erupt against economic hardship, one protester killed in Tripoli". Reuters. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Lebanese govt to charge USD 0.20 a day for WhatsApp calls". The Daily Star. 17 October 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-09. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ "Protests erupt in Lebanon over plans to impose new taxes". aljazeera.com. 18 October 2019. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ "Lebanon: WhatsApp tax sparks mass protests". DW (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Deutsche Welle. 10 October 2019. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ 16.0 16.1 "Lebanon Protesters Found Strength in Unity, Ditched Sectarianism". Report Syndication. 27 October 2019.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-15. สืบค้นเมื่อ 2020-07-21.
- ↑ "Protesters march from Al Nour Square to Central Bank in Tripoli". MTV Lebanon (ภาษาอังกฤษ). 22 October 2019. สืบค้นเมื่อ 26 October 2019.
- ↑ "Protesters block Karakoul Druze-Mar Elias road". MTV Lebanon (ภาษาอังกฤษ). 22 October 2019. สืบค้นเมื่อ 26 October 2019.
- ↑ Khraiche, Dana (17 October 2019). "Nationwide Protests Erupt in Lebanon as Economic Crisis Deepens". Bloomberg News. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ Fadi Tawil (17 October 2019). "Protests spread across Lebanon over proposed new taxes". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). AP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-21. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ "Protests erupt over taxes as govt races to wrap up budget". The Daily Star. 18 October 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ "Lebanon scraps WhatsApp tax as protests rage" (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 18 October 2019. สืบค้นเมื่อ 18 October 2019.
- ↑ The961, News (1 November 2019). "Lebanese Protesters Addressed President Aoun with an Urgent Demand/". the961.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-31. สืบค้นเมื่อ 24 November 2019.
{{cite web}}
:|first=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ "Lebanon protests: University professor Hassan Diab nominated to be PM". BBC.
- ↑ "Lebanese president asks Hassan Diab to form government". Al Jazeera. 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 2 January 2020.
- ↑ "Roadblocks across Lebanon as anger rises over Diab pick as PM". Al Jazeera. 20 December 2019. สืบค้นเมื่อ 2 January 2020.
- ↑ "Day 76: New Year's Revolution". The Daily Star. 31 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-09. สืบค้นเมื่อ 2 January 2020.
- ↑ "Lebanon forms new government after three months of protest". CPI Financial. 22 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-17. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020.