ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระธรรมวงศ์มุนี (วิชัย เมตติโก)"
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 11662550 โดย 125.27.129.37 (พูดคุย) ด้วยสจห. ป้ายระบุ: ทำกลับ |
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 11662191 โดย ToadetteEdit (พูดคุย) ด้วยสจห. ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
บรรทัด 19: | บรรทัด 19: | ||
|ลิขิต = |
|ลิขิต = |
||
}} |
}} |
||
'''พระธรรมวงศ์มุนี''' หรือ '''หลวงปู่วิชัย เมตติโก''' (5 มิถุนายน พ.ศ. 2453 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2556) เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่ง[[วัดไผ่ล้อม]] |
|||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
'''พระธรรมวงศ์มุนี''' หรือ '''หลวงปู่วิชัย เมตติโก''' มีนามเดิมว่า วิชัย แจ่มจรัส เกิดเมื่อวันที่ [[5 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2453]] ณ ตำบลคลองนารายณ์ [[อำเภอเมืองจันทบุรี]] [[จังหวัดจันทบุรี]] ครอบครัวประกอบอาชีพชาวสวนผลไม้ เป็นอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี และเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี และท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในจังหวัดจันทบุรีที่มีอายุยืนนานเกินกว่า 100 ปี ในวัยเยาว์เรียนหนังสือจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จากนั้นได้ลาออกเพื่อช่วยเหลือครอบครัวหาเลี้ยงชีพด้วยการทำสวนผลไม้ ต่อมาเมื่อมีอายุครบ 20 ปี ท่านได้เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี โดยมีพระครูพิศาลธรรมคุณ วัดไผ่ล้อม เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาหลังอุปสมบท ท่านได้ย้ายมาจำพรรษา ณ วัดไผ่ล้อม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ต่อมาหลังจากนั้นท่านจึงได้เรียนพระปริยัติธรรมและสอบได้เป็นนักธรรมตามลำดับดังนี้ |
'''พระธรรมวงศ์มุนี''' หรือ '''หลวงปู่วิชัย เมตติโก''' มีนามเดิมว่า วิชัย แจ่มจรัส เกิดเมื่อวันที่ [[5 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2453]] ณ ตำบลคลองนารายณ์ [[อำเภอเมืองจันทบุรี]] [[จังหวัดจันทบุรี]] ครอบครัวประกอบอาชีพชาวสวนผลไม้ เป็นอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี และเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี และท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในจังหวัดจันทบุรีที่มีอายุยืนนานเกินกว่า 100 ปี ในวัยเยาว์เรียนหนังสือจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จากนั้นได้ลาออกเพื่อช่วยเหลือครอบครัวหาเลี้ยงชีพด้วยการทำสวนผลไม้ ต่อมาเมื่อมีอายุครบ 20 ปี ท่านได้เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี โดยมีพระครูพิศาลธรรมคุณ วัดไผ่ล้อม เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาหลังอุปสมบท ท่านได้ย้ายมาจำพรรษา ณ วัดไผ่ล้อม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ต่อมาหลังจากนั้นท่านจึงได้เรียนพระปริยัติธรรมและสอบได้เป็นนักธรรมตามลำดับดังนี้ |
||
== ราชกิจของสงฆ์== |
== ราชกิจของสงฆ์== |
||
ภายหลังจากท่านอุปสมบท ท่านก็ได้เริ่มมีการศึกษาปริยัติธรรม จนกระทั่งท่านสอบได้นักธรรมชั้นตรีและชั้นโท ณ สำนักเรียนวัดลุ่มมหาชัยชุมพล จังหวัดระยองในปี พ.ศ. 2479 จากนั้นท่านได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีณ สำนักเรียนวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2490 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค นาอจากการศึกษาพระปริยัติธรรม ท่านยังได้ให้ความสนใจศึกษาศาสตร์ในหลายแขนง จนเกิดความชำนาญพิเศษ อาทิ ด้านนวกรรม สามารถแสดงธรรมปาฐกถาสอนประชาชนและคณะสงฆ์จนมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือ นอกจากนั้นท่านยังได้ให้การสนับสนุนทางด้านการศึกษาและเป็นประธานการสอบธรรมในพระอารามหลวงในปี พ.ศ. 2499 ก่อนหน้านี้ท่านก็ได้เปิดสำนักเรียนในพระอารามหลวง และเป็นครูสอนนักธรรมและรับเป็นผู้อุปการะโรงเรียนวัดไผ่ล้อม (อินทก์อุทัย) โรงเรียนระดับชั้นประถม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ในปี พ.ศ. 2497 ต่อมาท่านจึงได้เปิดสำนักแผนกบาลี ที่วัดไผ่ล้อม โดยเป็นผู้จัดหาหนังสือเรียนหลักสูตรนักธรรม และบาลีไวยากรณ์ จัดหาอุปกรณ์การศึกษาถวายแก่นักเรียนผู้ศึกษาทุกรูป ถวายนิตยภัตประจำเดือนให้แก่ครูผู้สอนบาลีไวยากรณ์ และจีดหาปัจจัยเพื่อช่วยเหลือด้านพาหนะในการเดินทางไปสอบที่ต่างจังหวัดแด่พระภิกษุ - สามเณร ท่านเป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตาและยังได้มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่เรียนดีแต่มีฐานะยากจน ปีละ 5 ทุน นาอจากนี้ ท่านได้ประสานขอบริจาคจาคสมทบทุนจำนวน 200,000 บาท จากสำนักส่งเสริมสลากกินแบ่งรัฐบาล เพื่อที่จะนำเงินนี้ไปสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม 1 หลัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 - 2530 ท่านได้จัดตั้งสงคราะห์การศึกษานักเรียนระดับชั้นประถม บริจาคเงินนำร่อง จำนวน 10,000 บาท และจัดตั้งกองทุนการศึกษาแด่ภิกษุ - สามเณร เขตพื้นที่ จังหวัดจันทบุรี จำนวนทุนก่อตั้ง 150,000 บาท ต่อมาท่านก็ได้เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ต่อมาท่านก็ได้เป็นประธานในการสร้างพระพุทธไสยาสน์ องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศ บรรจุอยู่ในพระอุโบสถหลังใหญ่ สร้างหอบำเพ็ญวิปัสสนากัมมัฏฐาน สร้างกุฏิ หอสวดมนต์ สร้างซุ้มประตูวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) สร้างถนนและบูรณปฏิสังขรณ์ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ อุโบสถหลังใหม่ เจดีย์ เป็นต้น |
ภายหลังจากท่านอุปสมบท ท่านก็ได้เริ่มมีการศึกษาปริยัติธรรม จนกระทั่งท่านสอบได้นักธรรมชั้นตรีและชั้นโท ณ สำนักเรียนวัดลุ่มมหาชัยชุมพล จังหวัดระยองในปี พ.ศ. 2479 จากนั้นท่านได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีณ สำนักเรียนวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2490 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค นาอจากการศึกษาพระปริยัติธรรม ท่านยังได้ให้ความสนใจศึกษาศาสตร์ในหลายแขนง จนเกิดความชำนาญพิเศษ อาทิ ด้านนวกรรม สามารถแสดงธรรมปาฐกถาสอนประชาชนและคณะสงฆ์จนมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือ นอกจากนั้นท่านยังได้ให้การสนับสนุนทางด้านการศึกษาและเป็นประธานการสอบธรรมในพระอารามหลวงในปี พ.ศ. 2499 ก่อนหน้านี้ท่านก็ได้เปิดสำนักเรียนในพระอารามหลวง และเป็นครูสอนนักธรรมและรับเป็นผู้อุปการะโรงเรียนวัดไผ่ล้อม (อินทก์อุทัย) โรงเรียนระดับชั้นประถม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ในปี พ.ศ. 2497 ต่อมาท่านจึงได้เปิดสำนักแผนกบาลี ที่วัดไผ่ล้อม โดยเป็นผู้จัดหาหนังสือเรียนหลักสูตรนักธรรม และบาลีไวยากรณ์ จัดหาอุปกรณ์การศึกษาถวายแก่นักเรียนผู้ศึกษาทุกรูป ถวายนิตยภัตประจำเดือนให้แก่ครูผู้สอนบาลีไวยากรณ์ และจีดหาปัจจัยเพื่อช่วยเหลือด้านพาหนะในการเดินทางไปสอบที่ต่างจังหวัดแด่พระภิกษุ - สามเณร ท่านเป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตาและยังได้มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่เรียนดีแต่มีฐานะยากจน ปีละ 5 ทุน นาอจากนี้ ท่านได้ประสานขอบริจาคจาคสมทบทุนจำนวน 200,000 บาท จากสำนักส่งเสริมสลากกินแบ่งรัฐบาล เพื่อที่จะนำเงินนี้ไปสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม 1 หลัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 - 2530 ท่านได้จัดตั้งสงคราะห์การศึกษานักเรียนระดับชั้นประถม บริจาคเงินนำร่อง จำนวน 10,000 บาท และจัดตั้งกองทุนการศึกษาแด่ภิกษุ - สามเณร เขตพื้นที่ จังหวัดจันทบุรี จำนวนทุนก่อตั้ง 150,000 บาท ต่อมาท่านก็ได้เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ต่อมาท่านก็ได้เป็นประธานในการสร้างพระพุทธไสยาสน์ องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศ บรรจุอยู่ในพระอุโบสถหลังใหญ่ สร้างหอบำเพ็ญวิปัสสนากัมมัฏฐาน สร้างกุฏิ หอสวดมนต์ สร้างซุ้มประตูวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) สร้างถนนและบูรณปฏิสังขรณ์ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ อุโบสถหลังใหม่ เจดีย์ เป็นต้น |
||
== ลำดับการปกครองสมณศักดิ์สงฆ์ == |
|||
* พ.ศ. 2493 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง จังหวัดจันทบุรี |
|||
* พ.ศ. 2498 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง จังหวัดจันทบุรี |
|||
* พ.ศ. 2499 เป็นเจ้าคณะอำเภอเมืองจันทบุรี |
|||
* พ.ศ. 2520 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ |
|||
* พ.ศ. 2522 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี |
|||
== สมณศักดิ์ == |
|||
* พ.ศ. 2493 เป็นพระครูสรวิชัย พระฐานานุกรมในพระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ) |
|||
* พ.ศ. 2500 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูอาทรสมาธิวัตร |
|||
* พ.ศ. 2509 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ในราชทินนามเดิม |
|||
* พ.ศ. 2514 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก (พิเศษ) ในราชทินนามเดิม |
|||
* พ.ศ. 2524 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระพิศาลธีรคุณ |
|||
* พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชจันทกวี |
|||
* พ.ศ. 2540 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระเทพสิทธิมุนี |
|||
* พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ พระธรรมวงศ์มุนี |
|||
== พระมหาเถระผู้รัตตัญญู == |
|||
ท่านได้รับการยกย่องเกียรติคุณจากชาวเมืองจันทบุรี ให้เป็นพระมหาเถระผู้รัตตัญญู เป็นผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า จนเห็นผลแล้วสอนผู้อื่นให้กระทำตาม เป็นมิ่งขวัญแก่ชาวเมืองภาคตะวันออกมายาวนาน สร้างความปลาบปลื้มยินดีแก่พุทธศาสนิกชนชาวเมืองจันทบุรีเป็นยิ่งนัก ต่อมาท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ชาวจันทบุรีจึงได้จัดงานพิธีฉลองมุทิตาสักการะแด่พระธรรมวงศ์มุนี เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เวลา 10.00 น. โดยมีขบวนแห่รับสัญญาบัตรพัดยศอย่างยิ่งใหญ่ ณ บริเวณหน้าวัดศรีเมือง ตำบลทุ่งเบญจา อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ในฐานะผู้อุทิศตนบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ศาสนา และประเทศชาติเป็นอเนกนานัปการ ควรค่าแก่การยกย่องประกาศเกียรติคุณ เพื่อเป็นทิฏฐานุคติแก่มหาชนสืบไป <ref> [http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=10734 ประวัติและพระปฏิปทาของพระธรรมวงศ์มุนี] </ref> |
|||
== มรณภาพ == |
|||
หลวงปู่วิชัย ท่านได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีด้วยโรคชรา ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2555 และรักษาตัวเป็นระยะเวลา 336 วัน จนกระทั่งท่านได้มรณภาพเมื่อวันที่ [[18 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2556]] เวลา 20.59 น. สิริอายุ 102 ปี พรรษาที่ 82 ณ โรงพยาบาลสิริเวช จังหวัดจันทบุรี รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อมเป็นระยะเวลา 58 ปี <ref>{{Cite web |url=http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNMk16WTVNalV5T1E9PQ== |title=หลวงปู่วิชัย พระธรรมวงศ์มุนี พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งจันทบุรี ได้ละสังขารแล้ว |access-date=2013-04-14 |archive-date=2016-03-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160305003958/http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNMk16WTVNalV5T1E9PQ== |url-status=dead }}</ref> |
|||
== อ้างอิง == |
|||
{{รายการอ้างอิง}} |
|||
{{เริ่มกล่อง}} |
|||
{{สืบตำแหน่ง |
|||
|สี1 = #FAFAD2 |
|||
|สี2 = |
|||
|สี3 = #FAFAD2 |
|||
|รูปภาพ = Buddhism dham jak.png |
|||
|ตำแหน่ง = เจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง |
|||
|จำนวนตำแหน่ง = |
|||
|ก่อนหน้า = [[พระราชธรรมสาร (สนอง วชิรปัญโญ)]] |
|||
|จำนวนก่อนหน้า = |
|||
|ถัดไป = [[พระอรรถโมลี (อบ ปสาโท)]] |
|||
|จำนวนถัดไป = |
|||
|ช่วงเวลา = พ.ศ. 2498 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 |
|||
}} |
|||
{{จบกล่อง}} |
|||
{{เรียงลำดับ|ธรรมวงศ์มุนี (วิชัย เมตติโก)}} |
|||
{{อายุขัย|2453|2556}} |
|||
[[หมวดหมู่:บุคคลจากอำเภอเมืองจันทบุรี]] |
|||
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]] |
|||
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี]] |
|||
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะชั้นธรรม|วงศ์มุนี (วิชัย เมตติโก)]] |
|||
[[หมวดหมู่:ภิกษุจากจังหวัดจันทบุรี]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:46, 6 สิงหาคม 2567
พระธรรมวงศ์มุนี (วิชัย เมตติโก) | |
---|---|
ชื่ออื่น | หลวงปู่วิชัย |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | 5 มิถุนายน พ.ศ. 2453 (102 ปี) |
มรณภาพ | 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 |
นิกาย | มหานิกาย |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ที่อยู่ | วัดไผ่ล้อม จังหวัดจันทบุรี |
อุปสมบท | 8 เมษายน พ.ศ. 2473 |
พรรษา | 82 |
ตำแหน่ง | เจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง |
พระธรรมวงศ์มุนี หรือ หลวงปู่วิชัย เมตติโก (5 มิถุนายน พ.ศ. 2453 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2556) เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดไผ่ล้อม
ประวัติ
พระธรรมวงศ์มุนี หรือ หลวงปู่วิชัย เมตติโก มีนามเดิมว่า วิชัย แจ่มจรัส เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2453 ณ ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ครอบครัวประกอบอาชีพชาวสวนผลไม้ เป็นอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี และเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี และท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในจังหวัดจันทบุรีที่มีอายุยืนนานเกินกว่า 100 ปี ในวัยเยาว์เรียนหนังสือจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จากนั้นได้ลาออกเพื่อช่วยเหลือครอบครัวหาเลี้ยงชีพด้วยการทำสวนผลไม้ ต่อมาเมื่อมีอายุครบ 20 ปี ท่านได้เข้าอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดห้องคูหา ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี โดยมีพระครูพิศาลธรรมคุณ วัดไผ่ล้อม เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมาหลังอุปสมบท ท่านได้ย้ายมาจำพรรษา ณ วัดไผ่ล้อม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ต่อมาหลังจากนั้นท่านจึงได้เรียนพระปริยัติธรรมและสอบได้เป็นนักธรรมตามลำดับดังนี้
ราชกิจของสงฆ์
ภายหลังจากท่านอุปสมบท ท่านก็ได้เริ่มมีการศึกษาปริยัติธรรม จนกระทั่งท่านสอบได้นักธรรมชั้นตรีและชั้นโท ณ สำนักเรียนวัดลุ่มมหาชัยชุมพล จังหวัดระยองในปี พ.ศ. 2479 จากนั้นท่านได้ไปศึกษาพระปริยัติธรรมบาลีณ สำนักเรียนวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2490 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค นาอจากการศึกษาพระปริยัติธรรม ท่านยังได้ให้ความสนใจศึกษาศาสตร์ในหลายแขนง จนเกิดความชำนาญพิเศษ อาทิ ด้านนวกรรม สามารถแสดงธรรมปาฐกถาสอนประชาชนและคณะสงฆ์จนมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือ นอกจากนั้นท่านยังได้ให้การสนับสนุนทางด้านการศึกษาและเป็นประธานการสอบธรรมในพระอารามหลวงในปี พ.ศ. 2499 ก่อนหน้านี้ท่านก็ได้เปิดสำนักเรียนในพระอารามหลวง และเป็นครูสอนนักธรรมและรับเป็นผู้อุปการะโรงเรียนวัดไผ่ล้อม (อินทก์อุทัย) โรงเรียนระดับชั้นประถม ตำบลจันทนิมิต อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ในปี พ.ศ. 2497 ต่อมาท่านจึงได้เปิดสำนักแผนกบาลี ที่วัดไผ่ล้อม โดยเป็นผู้จัดหาหนังสือเรียนหลักสูตรนักธรรม และบาลีไวยากรณ์ จัดหาอุปกรณ์การศึกษาถวายแก่นักเรียนผู้ศึกษาทุกรูป ถวายนิตยภัตประจำเดือนให้แก่ครูผู้สอนบาลีไวยากรณ์ และจีดหาปัจจัยเพื่อช่วยเหลือด้านพาหนะในการเดินทางไปสอบที่ต่างจังหวัดแด่พระภิกษุ - สามเณร ท่านเป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตาและยังได้มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่เรียนดีแต่มีฐานะยากจน ปีละ 5 ทุน นาอจากนี้ ท่านได้ประสานขอบริจาคจาคสมทบทุนจำนวน 200,000 บาท จากสำนักส่งเสริมสลากกินแบ่งรัฐบาล เพื่อที่จะนำเงินนี้ไปสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม 1 หลัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 - 2530 ท่านได้จัดตั้งสงคราะห์การศึกษานักเรียนระดับชั้นประถม บริจาคเงินนำร่อง จำนวน 10,000 บาท และจัดตั้งกองทุนการศึกษาแด่ภิกษุ - สามเณร เขตพื้นที่ จังหวัดจันทบุรี จำนวนทุนก่อตั้ง 150,000 บาท ต่อมาท่านก็ได้เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ต่อมาท่านก็ได้เป็นประธานในการสร้างพระพุทธไสยาสน์ องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศ บรรจุอยู่ในพระอุโบสถหลังใหญ่ สร้างหอบำเพ็ญวิปัสสนากัมมัฏฐาน สร้างกุฏิ หอสวดมนต์ สร้างซุ้มประตูวัดไผ่ล้อม (พระอารามหลวง) สร้างถนนและบูรณปฏิสังขรณ์ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ อุโบสถหลังใหม่ เจดีย์ เป็นต้น
ลำดับการปกครองสมณศักดิ์สงฆ์
- พ.ศ. 2493 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง จังหวัดจันทบุรี
- พ.ศ. 2498 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง จังหวัดจันทบุรี
- พ.ศ. 2499 เป็นเจ้าคณะอำเภอเมืองจันทบุรี
- พ.ศ. 2520 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์
- พ.ศ. 2522 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดจันทบุรี
สมณศักดิ์
- พ.ศ. 2493 เป็นพระครูสรวิชัย พระฐานานุกรมในพระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ)
- พ.ศ. 2500 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในราชทินนามที่ พระครูอาทรสมาธิวัตร
- พ.ศ. 2509 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ในราชทินนามเดิม
- พ.ศ. 2514 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก (พิเศษ) ในราชทินนามเดิม
- พ.ศ. 2524 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระพิศาลธีรคุณ
- พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชจันทกวี
- พ.ศ. 2540 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระเทพสิทธิมุนี
- พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ พระธรรมวงศ์มุนี
พระมหาเถระผู้รัตตัญญู
ท่านได้รับการยกย่องเกียรติคุณจากชาวเมืองจันทบุรี ให้เป็นพระมหาเถระผู้รัตตัญญู เป็นผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า จนเห็นผลแล้วสอนผู้อื่นให้กระทำตาม เป็นมิ่งขวัญแก่ชาวเมืองภาคตะวันออกมายาวนาน สร้างความปลาบปลื้มยินดีแก่พุทธศาสนิกชนชาวเมืองจันทบุรีเป็นยิ่งนัก ต่อมาท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ชาวจันทบุรีจึงได้จัดงานพิธีฉลองมุทิตาสักการะแด่พระธรรมวงศ์มุนี เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เวลา 10.00 น. โดยมีขบวนแห่รับสัญญาบัตรพัดยศอย่างยิ่งใหญ่ ณ บริเวณหน้าวัดศรีเมือง ตำบลทุ่งเบญจา อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ในฐานะผู้อุทิศตนบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ศาสนา และประเทศชาติเป็นอเนกนานัปการ ควรค่าแก่การยกย่องประกาศเกียรติคุณ เพื่อเป็นทิฏฐานุคติแก่มหาชนสืบไป [1]
มรณภาพ
หลวงปู่วิชัย ท่านได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีด้วยโรคชรา ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2555 และรักษาตัวเป็นระยะเวลา 336 วัน จนกระทั่งท่านได้มรณภาพเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556 เวลา 20.59 น. สิริอายุ 102 ปี พรรษาที่ 82 ณ โรงพยาบาลสิริเวช จังหวัดจันทบุรี รวมระยะเวลาการดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อมเป็นระยะเวลา 58 ปี [2]
อ้างอิง
- ↑ ประวัติและพระปฏิปทาของพระธรรมวงศ์มุนี
- ↑ "หลวงปู่วิชัย พระธรรมวงศ์มุนี พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งจันทบุรี ได้ละสังขารแล้ว". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2013-04-14.
ก่อนหน้า | พระธรรมวงศ์มุนี (วิชัย เมตติโก) | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระราชธรรมสาร (สนอง วชิรปัญโญ) | เจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระอารามหลวง (พ.ศ. 2498 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) |
พระอรรถโมลี (อบ ปสาโท) |