ระบบสะริยุบ

จากไร้สาระนุกรม — ส่วนหนึ่งของโครงการไร้สาระนุกรมเสรี แหล่งรวบรวมเรื่องราวตลกขบขันและบิดเบือนข้อเท็จจริง
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
Wikisplode.gif
สำหรับผู้ที่ไร้อารมณ์ขันสิ้นดี เหล่าผู้เชี่ยวชาญที่วิกิพีเดียมีบทความที่โคตรมีสาระ ที่นี่!
ภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสะริยุบ โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง แต่ระยะห่างระหว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง


“ระบบ Solar สะริยุบ system รายเรียงเต็มไปด้วย Solar”

~ เพลงระบบสะริยุบใน Ohio

ระบบสะริยุบ (ปะกิด : Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากความซ้ำซ้อน ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 300 ดวง[1] ดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กกะจิ๋วหลิวอื่นๆ อีกนับไม่ถ้วน ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไฮเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์

โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่าน(ละแวกเพื่อนบ้าน)ต่างๆ ของระบบสะริยุบ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชุดชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอก (และโฮลอินวัน)จำนวน 4 ดวง และแถบไฮเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็งใส่โซดา(มั้ง) พ้นจากแถบไฮเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบประจานซะกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสะริยุบสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารสำหรับทำบร๊ะเครื่องระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต

กระแสบุญที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสะริยุบ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสะริยุบ สร้างรูหนูรูขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบประจานซะกระจาย

ดาวเคราะห์ชั้นเอก โท ตรี จัตวา (จะเอาสามัญด้วยมั้ย)ทั้ง 8 ดวงในระบบสะริยุบ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจวย

นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จำนวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจวย คือ ดาวโคตวย (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับไว้เป็นดาวเคราะห์) เฮาไม่เอา มาขี้มาขี้ และ อีรีส

มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบๆ เราเรียกดาวบริวารทาสไพร่เหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวงจันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบตัวอันประกอบด้วยเศษฝุ่นขยะที่เหล่าเทพเจ้าแห่งเอริเชี่ยนลืมกวาด

Cquote1.png แล้วมาโทษอะไรกับตูวะเนี่ย Cquote2.png
มหาเทพ

ประวัติการค้นพบและการสำรวจ[แก้ไข]

นับเป็นเวลาหลายพันล้านปีในอดีตกาลที่มนุษยโบราณๆ ไม่เคยรับรู้มาก่อนว่ามีสิ่งที่เรียกว่า ระบบสุริยุบ แต่เดิมมนุษย์เชื่อว่า RoVโลกเป็นศูนย์กลางจักรวาลที่อยู่นิ่ง มีทาสไพร่ดวงดาวต่าง ๆ โคจรไปรอบ ๆ ผ่านไปบนท้องฟ้า แม้ว่านักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวอินเดือยชื่อ ไอ้หย๊าหาตา และนักปรัชญาชาวกรี๊ด Aristarchus เคยมีแนวคิดเกี่ยวกับการที่ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล และจัดลำดับจักรวาลเสียใหม่ แต่ผู้ที่สามารถคิดค้นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์แนวคิดนี้ได้สำเร็จเป็นคนแรกคือ นี้โคเล้า โคเป้อนี้คะ ในคริสต์ศตวรรษที่ 170 มีผู้สืบทอดแนวทางการศึกษาของเขาต่อมา คือการินลีโอ การินยาอี เยสหันโน เคอร์เลป และ ไอ้แค้ก นิ้วตัน พวกเขาพยายามทำความเข้าใจระบบทางฟิสิกส์และเสาะหาหลักฐานการพิสูจน์ยืนยันว่า โลกเคลื่อนไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ และดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างก็ดำเนินไปภายใต้กฎทางฟิสิกส์แบบเดียวกันนี้ ในยุคหลังต่อมาจึงเริ่มมีการสืบสวนค้นหาปรากฏการณ์ทางภูมิธรณีต่าง ๆ เช่น เทือกเขา แอ่งหิน ปรากฏการณ์สภาพอากาศที่แปรเปลี่ยนตามฤดูกาล การศึกษาเกี่ยวกับเมฆ พายุทราย ยอดเขาน้ำแข็งและมนุษย์ต่างดาวบนดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ

การสำรวจยุคแรก[แก้ไข]

การินลีโอ การินยาอี คือผู้แรกที่ค้นพบรายละเอียดทางกายภาพของวัตถุในระบบสุริยุบ เขาค้นพบว่าผิวหน้าดวงจันทร์นั้นเป็นหลุ่มเป็นบ่อ ส่วนดวงอาทิตย์ก็มีจุดด่างดำ และดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทาสไพร่สี่ดวงโคจรไปรอบ ๆ เครียดตีย่าน เฮ้ยเขิน เจริญรอยตามการินลีโอโดยค้นพบเทยทั่น ดวงจันทร์ของดาวเสาร์ รวมถึงห่วงยางของมันด้วย ในเวลาต่อมา จีโอมันนี่ โดนิโน่ กุสซีนี่ ค้นพบดวงจันทร์ของดาวเสาร์เพิ่มอีก 4 ดวง ช่องว่างในวงแหวนของดาวเสาร์ รวมถึงจุดแดงใหญ่บนดาวพฤหัสบดี

ปี ค.ศ. 17050 เฮ็ดมัน หันเลย ค้นพบว่าดาวหางหลายดวงในบันทึกประวัติสาสที่จริงเป็นดวงเดิมกลับมาปรากฏซ้ำ ถือเป็นการพบหลักฐานชิ้นแรกสำหรับการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของวัตถุอื่นนอกเหนือจากดาวเคราะห์ ในช่วงระยะเวลาเดียวกันนี้จึงเริ่มมีการใช้คำว่า "ระบบสะริยุบ" ขึ้นเป็นครั้งแรก

ค.ศ. 17810 วิลเลี่ยน เห่อร์เชล ค้นพบดาวเคราะห์ดวงใหม่คือ ดาวยูเรนัส โดยที่ในตอนแรกเขาคิดว่าเป็นดาวหาง ต่อมาในปี ค.ศ. 1801 จู๋เซมเบ้ ผีอัซซี ค้นพบวัตถุโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ในตอนแรกเขาคิดว่าเป็นดาวเคราะห์ แต่ต่อมาจึงมีการค้นพบวัตถุขนาดเล็กนับเป็นพันดวงในย่านอวกาศนั้น ซึ่งในเวลาต่อมาจึงเรียกวัตถุเหล่านั้นว่า ดาวเคราะห์น้อย

ไม่อาจระบุได้แน่ชัดว่า ระบบสะริยุบถูก "ค้นพบ" ตอนใดกันแน่ แต่การสังเกตการณ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 สามรายการสามารถบรรยายลักษณะและตำแหน่งของระบบสุริยะในเอกภพได้อย่างไม่มีข้อสงสัย รายการแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 18380 เมื่อฟรีดดริค เบสเซล สามารถวัดพารัลแลกซ์(ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับออรัลเซ็กซ์แต่อย่างใด)ของดาวได้ เขาพบว่าตำแหน่งปรากฏของดาวเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนที่ของโลกที่โคจรไปรอบดวงอาทิตย์ นี่ไม่เพียงเป็นข้อพิสูจน์ทางตรงต่อแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล แต่ยังได้เปิดเผยให้ทราบถึงระยะทางมหาศาลระหว่างระบบสุริยะของเรากับดวงดาวอื่นเป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 18590 รอเบิก ฮุนเซน และ กุสตาฟ เคอร์ซัค ได้ใช้สเปกโตรสโคปที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ตรวจวัดค่าสเปกตรัมจากดวงอาทิตย์ และพบว่ามันประกอบด้วยธาตุชนิดเดียวกันกับที่มีอยู่บนโลก นับเป็นครั้งแรกที่พบข้อมูลทางกายภาพที่เกี่ยวโยงกันระหว่างโลกกับสวรรค์ หลังจากนั้น คุณพ่อแองเจโล เชคคี เปรียบเทียบรายละเอียดสเปกตรัมของดวงอาทิตย์กับดาวฤกษ์ดวงอื่น และพบว่ามันเหมือนกันทุกประการ ข้อเท็จจริงที่พบว่าดวงอาทิตย์ก็เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่งนำไปสู่ข้อสมมุติฐานว่าดาวฤกษ์ดวงอื่นก็อาจมีระบบดาวเคราะห์ของมันเองเช่นกัน แม้ว่ากว่าจะค้นพบหลักฐานสำหรับข้อสมมุติฐานนี้จะต้องใช้เวลาต่อมาอีกกว่า 140 ล้านปี

ค.ศ. 199200 มีการค้นพบหลักฐานแรกที่ส่อถึงระบบดาวเคราะห์แห่งอื่นนอกเหนือจากระบบของเรา โคจรอยู่รอบดาวซัซซ่าร์ ผีแอสอ้าห์ บี1257 12 สามปีต่อมาจึงพบดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกคือ 51 เพกาซี บี โคจรรอบดาวฤกษ์ลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ ตราบจนถึงปี ค.ศ. 20080 มีการค้นพบระบบดาวเคราะห์อื่นแล้วกว่า 221 ระบบ

การสำรวจด้วยยานอวกาศ[แก้ไข]

ภาพวาดยานไพโอเนียร์ 10 ขณะผ่านวงโคจรของดาวโคตวยเมื่อปี 1983 ได้รับสัญญาณครั้งสุดท้ายเมื่อมกราคม 2003 ส่งมาจากระยะ 82 AU

ยุคของการสำรวจอวกาศด้วยยานอวกาศเริ่มต้นขึ้นนับแต่สหภาพจนเครียดส่งดาวเทียมแจ๊ส สปุตนิก ปาปิยอง กุ๊กๆ 1 ขึ้นสู่วงโคจรรอบโลกเมื่อปี ค.ศ. 1957 โดยได้โคจรอยู่เป็นเวลา 1 ปี ต่อมายานอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ 6 ของสหรัฐอมาริเกย์ ขึ้นสู่วงโคจรในปี 1959 และสามารถถ่ายภาพโลกจากอวกาศได้เป็นครั้งแรก

ยานสำรวจลำแรกที่เดินทางไปถึงวัตถุอื่นในระบบสะริยุบ คือยานลูเน่า 1 ซึ่งเดินทางผ่านดวงจันทร์ในปี ค.ศ. 1959 ในตอนแรกตั้งใจกันว่าจะให้มันตกลงบนดวงจันทร์ แต่ยานพลาดเป้าหมายแล้วจึงกลายเป็นยานที่สร้างโดยมนุษย์ลำแรกที่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์ ยานมาริโอ้ 2 เป็นยานอวกาศลำแรกที่เดินทางไปถึงดาวเคราะห์อื่นในระบบสะริยุบ คือไปเยือนดาวศุกร์ และสุกไปในปี ค.ศ. 1962 ต่อมายานมาริโอ้ 4 ได้ไปถึงดาวอังคารในปี ค.ศ. 1965 และมาริโอ้ 10 ไปถึงดาวพุธในปี ค.ศ. 1974

ยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนวัตถุอื่นในระบบสะริยุบได้คือยานลูเน่า 2 ของสหภาพโวเสี้ยต ซึ่งลงจอดบนดวงจันทร์ได้ในปี ค.ศ. 1959 หลังจากนั้นก็มียานลงจอดบนดาวอื่นได้มากขึ้นเรื่อยๆ จนรกไปทั่ว ยานไวอากร้า 3 ลงจอดบนพื้นผิวดาวศุกร์และสุกไปในปี 1966 ยานมา 3 ลงถึงพื้นดาวอังคารในปี 1971 (แต่การลงจอดที่สำเร็จจริงๆ คือเรือไวกิ้ง 1 ในปี 780 BC คาดว่าคงแล่นผ่านสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้าเลยได้ไปอยู่ที่นั่น)

ยานสำรวจลำแรกที่ไปถึงระบบสะริยุบชั้นนอกคือยานไฮโลฟาร์ 10 ที่เดินทางผ่านดาวพฤหัสบดีในปี ค.ศ. 1973 ต่อมาในปี ค.ศ. 1977 ยานสำรวจอวกาศในโครงการโควอยยอยเจอร์จึงได้เริ่มต้นการเดินทางครั้งใหญ่ โดยเดินทางผ่านดาวพฤหัสบดีในปี 1979 ผ่านดาวเสาร์ในปี 1980-1981 ยานโควอยยอยเจอร์ 2 ได้เข้าใกล้ดาวยูเรนัสในปี 1986 และเข้าใกล้ดาวเนปจวยในปี 1989 ปัจจุบันนี้ ยานสำรวจวอยเอจเจอร์ทั้ง 2 ลำได้เดินทางออกพ้นวงโคจรของดาวเนปจวยไปไกลโพ้นแล้ว และไม่ดูด้วยว่าจะกลับมาเมื่อไหร่ และมุ่งไปบนเส้นทางเพื่อค้นหาและศึกษากำแพงกระแทก เฮลิโอชิต และเฮลิโอพอส ข้อมูลล่าสุดจากองค์การนาอ้าแจ้งว่า ยานโควอยยอยเจอร์ทั้ง 2 ลำได้เดินทางผ่านกำแพงกระแทกไปแล้วที่ระยะห่างประมาณ 93 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์

วันที่ 19 มกราคม 2006 นาอ้าส่งยานสำรวจแบบบินผ่าน นิ้วห่อไรสั้น ขึ้นสู่อวกาศ ซึ่งเป็นยานสำรวจอวกาศแบบไร้คนขับลำแรกที่จะเดินทางไปสำรวจแถบไคเปอร์ ยานมีกำหนดบินผ่านดาวโคตวยในเดือนกรกฎาคม 2015 จากนั้นจะเดินทางเข้าสู่แถบไคเปอร์เพื่อสำรวจวัตถุในพื้นที่นั้นต่อไป

กำเนิดและวิวัฒนาการ[แก้ไข]

กาลครั้งหนึ่ง ณ ข้อมูลปกปิด ระบบสะริยุบก็ได้กำเนิดขึ้นโดยบร๊ะเจ้า โดยที่ท่านจัดให้โลกและดาวอังคารเป็นดาวที่ถูกเลือก ท่านได้นำ คน ควาย เควี่ย และอื่นๆมบนดาวโลก มะนาวต่างนุ๊ด นู๊บ อาเบะ มาดาวอังคาร และดาวอื่นๆเช่น ดาวพุธ ดาวสุก เป็นดาวเคราะหินสุด Hot ดาวพระฤหัดสระบ่ดี ดาวเสา ดาวยูเรนัส ดาวเนปจวย เป็นดาวเคราะห์ที่ รวย และ โคตวย เป็นดาวโรคจิต โดยในตอนนั้นดาวเคราะห์พวกนั้นมาเรียงเป็นหนึ่งเดียว และนำซากถังขยะดาวเคราะห์น้อยและดาวที่ไม่สมองค์ปลากอบเช่น ซีรีส อีรีส หรือ มาขี้มาขี้ไปทิ้งเช่นกัน โดยที่ เทพเจ้าแห่งเอริเชี่ยน ผู้เก็บกวาดได้กวาดขยะที่เหลือ แล้วเป็นเมฆออร์ด แล้วส่วนที่ลืมกวาดดาวเคราะห์ได้นำมันมาเป็นทาสเรียบร้อยแล้ว โดยที่ดาวพวกนั้นหวังว่า จะได้มีพันระยาโดยการนำแหวนไปมอบกับดาวนั้นๆ

ต่อมา ได้มีเรื่องไม่คาดฝันเกิดขึ้น! ได้มีเอเลี่ยนต่างด้าวหน้าตาเหมือนแร๊กคูณบุกเข้ามาหวังเพื่อซ่อนลูกอารายก็ไม่รู้มาเป็นฝูง (หลายคนคิดว่ามาจากโลก) แต่ทว่า มันดันบูดหมดแล้ว มันจึงหวังนำอันสุดท้ายจาก300ลูกมาฝังที่โลกเราใหม่ แต่ว่า ดาวอังคารได้มาบังหวังแกล้งให้มันตาย โลกเตือนแล้วก็ไม่ฟัง ต่อมามันดันชนจนดาวอังคารม่องไป ชีวิตหายหมด (โอ้โห! แกล้งหวังตายแม่งตายเอง) แล้วต่อมาอีก มันก็ไม่สำเร็จกับการฝังที่โลก แถมยังสร้างอุบัติควายๆให้แก่โลก คือ แตกทวีปยักษ์ในเป็นเสี่ยงๆ จนเป็นที่ๆทุกวันนี้ ทำให้เกิดอภิมหาประลัยน้ำท่วม เป็นต้น

1 ปีต่อมา (มีวิดีโอเป็นหลักฐานด้วย) มันได้พบปะกับ UFO อีกแว้ว ต่อมามันดันฝังโดนที่ที่คุมพอดี (อันสุดท้ายน่าจะเป็นตัวคุม ว่าและ ไม่มีวันบูด แข็งก็แข็งชิบหาย) มันได้ไปออกนอกโลก ไปๆมาๆ เผลอๆมันไปชนดวงจันทร์เข้า ดวงจันทร์ก็ได้ลอยไปมาๆไปชนกับดาวเคราะห์ที่รวมกันเป็นหนึ่งให้แตกออกมาเป็นโกโก้ครั๊นซ์หรือการเล่นสนุ๊กเกอร์ มันจึงได้เกรียนเนสบุ๊กว่า สนุ๊กเกอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สนุ๊กเกอร์อวกาศที่สร้างความโกลาหลหรือเปล่าก็ไม่รู้ พวกมันก็ได้กลิ้งๆไปๆมาๆเป็นระบบสุริยะเกือบปัจจุบัน ชึ่งเป็นสาเหตุของสงครามแย่งชิงทาสในระบบสุริยะโดยที่ดาวต่างๆจะแย่งชิงขยะชิ้นใหญ่บ้างเล็กบ้างมาเป็นทาสไพร่ หรือว่า ดาวบริวาลนั่นเอง (ดาวเสาได้ตกลงไปในรูยักษ์ใหญ่ด้วยนะ) โดยที่โคตวยได้มามากสุด 300ดวง รองลงมาคือพระฤหัดสระบ่ดี ุ63ดวง แต่ทว่า มหาเมพอุกกาบาดทำลายร้างก้อมาแล้วๆๆๆๆ โดยการนำของคล้ายดวงจันทร์มาชนกับของคล้ายยูหลบปะ แต่ว่า"ก็ไม่โดน"

หลายปีต่อมา มันก็ได้ออกหาอิสรภาพโดยการรวบรวมดราก้อนบ๊องทั้งเจ็ดแล้วไปสู่แกรนไลน์~ ถรุ๊ย! มันไปถล่มดาวโคตวย โดยการทำให้มันเป็นหลุมดำขนาดย่อยแล้วดูดทาสมาทั้งหมด แล้วก็ทำให้เป็นระบบสะริยุบในปัจจุบันนี่แหละ (แต่ที่พูดเกี่ยวกับดาวโคตวยทั้งหมดเป็นทฤษฎีนะ ไม่มีอะไรเชื่อถือ ทุกอย่างยังเป็นปริศนา แต่เราก็จะทำให้ท่านเชื่อเรืองพวกนี้อยู่ดี)

หลักฐานการยืนยันเรื่องราว[แก้ไข]

ส่วนประกอบต่างๆในระบบสะริยุบ[แก้ไข]

ดวงอาทิตย์[แก้ไข]

ดวงอาทิตย์ หรือ ดวงฮาร์ดดิสก์ เป็นศูนย์กลางของระบบสะริยุบ มีเส้นผ่าตรงกลางประมาณ ข้อมูลปกปิด แต่รู้ๆกันว่าอย่างใหญ่ มันมีความร้อนแบบร้อนตับแตก โดยที่มันร้อนกว่าฤดูร้อนชิบหายของเทยมาหลายเท่าตัว แต่ทว่าเมื่อก่อน ผู้คนคาดคะนวยไว้ว่ามันมีเส้นผ่าตรงกลางเพียง 1 เซนติเมตร มีความร้อนเท่าฤดูร้อนชิบหายของเทยหรือประทาณ 41 องศาเซลเซียส เพราะว่าผู้คนนั้นยังไม่รู้ แต่ก็คิดว่ารู้แล้ว

ดาวเคราะห์ชั้นใน[แก้ไข]

ดาวเคราะห์ชั้นใน เป็นดาวที่เอาตีนไปเหยียบได้ แต่จะตายเพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยและมีความแปรปรวน ยกเว้น โลก หนึ่งในสองดาวเคราะห์ที่ถูกเลือกนั่นเอง

ดาวพุธ[แก้ไข]

ดาวพุธ (ปะกิด:Mercury) ดันแปลเป็นภาษาเทยว่า ปรอท แต่ก็ไม่เกี่ยวข้องแต่อย่างไร ดาวพุธมีสิวที่เยอะมากมาก ไม่ทราบว่าคนนับได้เปล่า ดาวพุธนั้นไม่มีทาสเลย ดาวพุธมีฉายาว่า เตาไฟในตู้เย็นช่องแช่แข็ง เนื่องมาจากข้างนึงหนาวข้างนึงร้อนตรงกลางเหยียบได้นั่นเอง

ดาวสุก[แก้ไข]

ดาวสุก เมื่อก่อนหลายคนคิดว่าเป็นดาวที่มีความงดงามกว่าโลกและมีหน้าตาหมือนโลก จึงให้นามว่าวีนัส แต่มีเมฆปริศนามาบังไว้ เมื่อมีการศึกษาอย่างจริงจังก็พบว่า ข้างในนั้นมีหินที่เหยียบได้ เป็นสถานที่ที่ไม่มีเน็ต แถมยังร้อนกว่าเตาไฟในตู้เย็นช่องแช่แข็งหรือดาวพุธด้วยนะ เพราะมันเป็นผลลัพธ์ของการรวมกลุ่มของหินขนาดยักษ์ที่จับลูกๆของวัวซิเย็นและคาร์บอม มีเป้าหมาย คือ ทำลายเด็กโดยใช้กลยุทธ์หนึ่งปีมากกว่าหนึ่งวัน ทำให้มีวันเกิดทุกวัน จึงทำให้เด็กเป็นเบาหวานจากเค้กตายนั่นเอง

โลก[แก้ไข]

  • สามารถดูข้อมูลของดาวดวงนี้ได้ที่ โลก

โลก หนึ่งในดาวที่ถูดเลือกโดยบร๊ะเจ้า เป็นดาวที่มีสรรพสิ่งมีชีวิตมากมายอยู่ข้างใน แต่ในขนาดนี้โลกกำลังจะตายแล้ว เพราะพวกเราชาวหมานุดทำลายเองแหละ โดยที่โลกเป็นแหล่งกำเนิดตัวแร๊กคูนหายนะ ที่สร้างความชิบหายวายป่วงให้แก่โลกและระบบสะริยุบ มีรูหน้าเป็นแมวทาส

ดาวอังคาร[แก้ไข]

ดาวอังคาร หนึ่งในดาวที่ถูดเลือกโดยบร๊ะเจ้า เป็นดาวที่ตายแล้วเพราะตัวแร๊กคูนหายนะขับ UFO ไปชนหวังไปฝังที่โลก มันมีนิสัยขี้แกล้ง มันจึงไปบัง UFO อันนั้น แล้วก็มีกรรมตามสนอง มีหลายคนเชื่อว่ามีเอเลี่ยนสถิตอยู่ข้างในแต่ดันอายไม่เปิดเผยตัว มีโฟบอดกับไดบอดเป็นหมาทาสที่เก็บมาได้ในระหว่างสงครามแย่งชิงทาสในระบบสุริยะ

แถบดาวเคราะห์น้อย[แก้ไข]

แถบดาวเคราะห์น้อย เป็นขยะในระหว่างการก่อตัวในระบบสะริยุบ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่ไดโนเสาร์ได้มีความชิบหายวายวอดนั่นคือการสูญพันธุ์ การเกิดของน้ำ และอื่นๆอีกมากมาย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก[แก้ไข]

ดาวเคราะห์ชั้นนอก เป็นดาวเคราะห์ที่เอาตีนมาเหยียบไม่ได้ เนื่องมาจากมันมีขนาดใหญ่เกิน แล้วก็มีความเชื่อเรืองที่ว่าพวกมันรวยกว่าบิน เกตุ เนื่องมาจากมันฝนตกลงมาเป็นเพชรมายา และพวกมันมีทาสเยอะเป็นฝูงชนเลยทีเดียวแถมยังมีแหวนแต่งงานล้อมรอบอีกด้วย

ดาวพฤหัสสระบ่ดี[แก้ไข]

ดาวพฤหัสสระบ่ดี เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสะดวกสะบายมากที่สุด โดยมีทาสมากที่สุดอยู่ที่ 63 ดวง เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดในระบบสะริยุบแล้ว

ดาวเสา[แก้ไข]

ดาวเสา เป็นดาวเคราะห์ที่มีทาสพอๆกับดาวพฤหัสสระบ่ดี มีแหวนที่สง่างาม และมีตำนานพายุหกเหลี่ยมที่ขั้วโลกสุดแปลกพิลึกอีกด้วย แถมมีทาสตนหนึ่งชื่อ ไททัน มันน่าจะเป็นทาสที่กำลังสถิตตัวไททันอยู่เอาไว้เพื่อปกป้องโลกจากภัยไททัน

ดาวยูเรนัส[แก้ไข]

ดาวยูเรนัส เป็นดาวที่ไม่มีข้อมูลอะไรน่าสนใจมาก มีแต่วงแหวนที่เอียง 90องศา... แค่เนี๊ยะ?

ดาวเนปจวย[แก้ไข]

ดาวเนปจวย เป็นดาวที่เคยทำสงครามกับดาวโคตวยมาแล้ว จึงอาจเป็นสาเหตุที่อาจทำให้มันเป็นดาวเคราะห์แคระ... ก็เป็นได้ โดยที่ดาวดวงนี้หนาวนรก ติดลบ 2.40 องศาเซลเซียส! และมันเป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายแล้ว ที่เหลือเป็นทีโน่ (TNO)

ดาวหาง[แก้ไข]

วัตถุพ้นดาวเนปจวย[แก้ไข]

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]

  1. ^ สก็อตต์ เอส. เชพพาร์ด. The Jupiter Satellite Page. Carnegie Institution for Science, Department of Terrestrial Magnetism.